Skip to content
Home » AEC กับ เกษมสันต์ : ระบบการปกครองของสปป.ลาว TNN24 | คู่มือการเขียนโปรแกรม ที่เว็บไซต์

AEC กับ เกษมสันต์ : ระบบการปกครองของสปป.ลาว TNN24 | คู่มือการเขียนโปรแกรม ที่เว็บไซต์

คุณกำลังพยายามหาข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อการหาเงินออนไลน์หรือไม่? คุณกำลังมองหาหัวข้อที่เหมาะสม AEC กับ เกษมสันต์ : ระบบการปกครองของสปป.ลาว TNN24 หรือไม่? ถ้าเป็นเช่นนั้นโปรดอ่านบทความนี้ทันที.

AEC กับ เกษมสันต์ : ระบบการปกครองของสปป.ลาว TNN24 | การ ปกครอง ของ ลาว.

[button color=”primary” size=”small” link=”#” icon=”” target=”false” nofollow=”true”]ดูวิดีโอโดยละเอียดด้านล่าง[/button]

รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ การ ปกครอง ของ ลาว.

AEC กับ เกษมสันต์ : ระบบการปกครองของสปป.ลาว TNN24

AEC กับ เกษมสันต์ : ระบบการปกครองของสปป.ลาว TNN24

คุณสามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การเขียนโปรแกรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ง่ายที่สุด ที่นี่: https://brokengroundgame.com/learn-to-program/.

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ การ ปกครอง ของ ลาว.

AEC และ เกษมสันต์ : ระบอบการปกครองของ สปป. ลาว TNN24 ..

brokengroundgame.com หวังว่าข้อมูลในบทความนี้จะมีคุณค่ามากสำหรับคุณ. ขอแสดงความนับถือ.

การค้นหาที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อAEC กับ เกษมสันต์ : ระบบการปกครองของสปป.ลาว TNN24.

การ ปกครอง ของ ลาว

sattrawut999

#AEC #กบ #เกษมสนต #ระบบการปกครองของสปปลาว #TNN24

AEC กับ เกษมสันต์ : ระบบการปกครองของสปป.ลาว TNN24

11 thoughts on “AEC กับ เกษมสันต์ : ระบบการปกครองของสปป.ลาว TNN24 | คู่มือการเขียนโปรแกรม ที่เว็บไซต์”

  1. ຊະນະຂາດແທ້ໂຄດພໍ່ມັນພະເດັດການນະ.ປານໄດເຂົາສິຕາຍ.ເບິງໜ້າບັກໄດບໍ່ຄືຄົນມີລະດັບການສຶກສາ.ຈົບມາແຕ່ແກວເບີດ.ໄປຮຽນກີນແຈ

  2. มีแต่พวกเวียดนาม​บริหารประเทศ​อีกหน่อยก้อเป็นเขตปกครองตนเองเชื้อชาติลาว ประเทศ​เวียดนาม

  3. ความจริงแล้ว ชาติลาวเนี่ยนะมีประชาธิปไต รัฐเดียวแดกทั้งประเทศ สุดท้ายแล้วประชาชนไม่มีสิทธิ์ทำอะไรได้เลย ปชชไม่มีอะไรจะแดก แบบนี้ยังเรียกว่ามีประชาธิปไตอีกหรอ

  4. ลาวกับการเมืองที่มีเสถียรภาพก่อนหน้านี้เคยมีนักข่าวท่านนึงเคยพูดออกรายการว่า "การเมืองลาวมีเสถียรภาพมากกว่าไทย" ซึ่งเรื่องนี้เป็นเรื่องจริง ผมได้ทำการศึกษาเรื่องการเมืองการปกครอวมาสักระยะนึงแล้ว ผมได้มองการเมืองลาวว่า "เป็นการเมืองที่มีเสถียรภาพแต่การได้มาซึ่งเสถียรภาพนั้นเป็นองค์ประกอบที่ขัดต่อประชาธิปไตย"ก่อนที่ผมจะเล่าเรื่องเสถียรภาพทางการเมืองลาวนั้นผมอยากจะพูดเรื่องโครงสร้างทางการเมืองของลาวก่อนนะครับ 1.รัฐธรรมนูญของลาวประกาศใช้มาแล้วสองฉบับ ฉบับแรกคือฉบับปี 2492 หลังจากได้เอกราชจากฝรั่งเศสในรัฐธรรมนูญลาวได้กำหนดให้ลาวเป็นราชอาณาจักรคือปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ กำหนดให้มีสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และให้นายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกตั้ง แต่ต่อมาในปี 2518 ได้มีการปฏิวัติยึดอำนาจจากรัฐบาลของเจ้าสุภานุวงศ์โดยขบวนการประเทดลาว(พรรคคอมมิวนิสต์ลาวในปัจจุบัน) หรือที่รู้จักในนาม "ลาวแดง" หลังจากนั้นได้มีประกาศใช้รัฐธรรมนูญ 2518 ซึ่งมีการกำหนดให้มีสภาแห่งชาติเพียงสภาเดียว และกำหนดให้มีพรรคคอมมิวนิสต์พรรคเดียวเท่านั้น เท่ากับว่า ประชาชนจะมีพรรคการเมืองเป็นของตัวเองไม่ได้ และในรัฐธรรมนูญระบุว่า "การเสนอกฎหมายเป็นหน้าที่ของสภาแห่งชาติและองค์กรต่างๆที่ตั้งขึ้นโดยรัฐธรรมนูญโดยที่ประชาชนไม่มีสิทธิ์" ทั้งสองเรื่องที่กล่าวมานอกจากจะเป็นการจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนแล้วยังเป็นการทำที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญที่บัญญัติไว้ว่า "การจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนจะกระทำมิได้" แต่ทั้งสองกรณีที่ได้กล่าวอ้างมา ได้ขัดต่อรัฐธรรมนูญเสียแล้ว นอกจากนี้ยังมีอีกมาตรานึงในบทสุดท้ายระบุว่า" การเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นหน้าที่ของสภาแห่งชาติเท่านั้นและต้องใช้เสียงสองในสามในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ" ตรงนี้เท่ากับว่าประชาชนไม่มีสิทธิ์เสนอแก้ไขกฎระเบียบของประเทศตนได้ ดังนั้นมาตราหลายๆมาตราของรัฐธรรมนูญมันขัดกับตัวรัฐธรรมนูญเองและยังจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนอีกด้วย2.การเลือกตั้งของลาว อย่างที่ทราบกันดีว่าลาวปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์คือพรรคคอมมิวนิสต์เป็นพรรคการเมืองเดียวของประเทศและมีอำนาจสูงสุด(เป็นการปกครองในระบอบเผด็จการรูปแบบนึง) ดังนั้นการสมัครเป็นสส.จะต้องสมัครกับพรรคคอมมิวนิสต์เท่านั้นจะสมัครอิสระก็ได้แต่จะถูกมองว่า "หาชื้อเสียง" และจะต้องสมัครกับพรรคอีกด้วย และพรรคจะตรวจสอบอย่างละเอียดยิ่งกว่าผู้สมัครที่ลงในนามพรรคเพราะคนในพรรคมองว่า "คนผู้นี้อาจจะเป็นปฏิปักษ์ต่อพรรค" เพราะในรัฐธรรมนูญลาวระบุว่า "การกระทำจะต้องไม่ขัดต่อการปกครองของลาว" ตรงนี้จึงถูกมองว่า "พรรคมีความวิเศษวิโสมากกว่าประชาชนทั่วไปทั้งๆที่คนเหมือนกัน" จึงทำให้เกิดอภิสิทธิ์ชนขึ้น ในสภาแห่งชาติลาวประกอบไปด้วยสมาชิกเลือกตั้งจำนวน 115 คน เจ้าหน้าที่ 79 คนและมีคณะกรรมการต่างๆที่มาจากการแต่งตั้งอีกด้วย และในรัฐสภาของลาวก็ไม่มีฝ่ายค้านเพราะถือเป็นปฏิปักษ์ต่อพรรค ทั้งหมดนี้คือโครงสร้างทางการเมืองของลาว ก็คือกล่าวโดยสรุปว่า "การเมืองการปกครองของลาวนั้นเป็นเผด็จการโดยพฤตินัยเพราะมีแค่พรรคการเมืองพรรคเดียวคือ พรรคคอมมิวนิสต์ลาว" โดยที่ประชาชนไม่มีสิทธิ์จะตั้งพรรคการเมืองของตนเองขึ้นมาได้และถ้าจะลงสมัครสส.อิสระจะต้องได้รับการตรวจสอบจากพรรคคอมิวนิสต์ลาวโดยละเอียดกว่าผู้ลงสมัครในนามพรรคตรงนี้สะท้อนให้เห็นว่าพรรคคอมมิวนิสต์ของลาวมีอำนาจชี้ขาดในเรื่องต่างๆ โดยที่ประชาชนไม่สามารถโต้แย้งอะไรได้ ตามมาด้วยรัฐธรรมนูญของลาวซึ่งมีหลายมาตราที่ขัดแย้งกับตัวรัฐธรรมนูญเองเช่นระบุว่าลาวเป็นประชาธิปไตยแต่ในทางปฏิบัติเป็นเผด็จการ เพราะมีพรรคการเมืองเดียวปกครองประเทศมาโดยตลอดและประชาชนไม่สามารถแก้ไขรัฐธรรมนูญและไม่สามารถเสนอกฎหมายอะไรได้เลยแต่ในประเทศประชาธิปไตยอย่างอินโดนีเซียประชาชนมีสิทธิ์เสนอร่างกฎหมายได้แต่จะต้องให้สภาพิจารณาร่างกฎหมายเป็นสามวาระเมื่อครบสามวาระแล้วให้ประธานาธิบดีลงนามเพื่อประกาศใช้เป็น "รัฐบัญญัติ" ต่อไป และตัวรัฐธรรมนูญของลาวเองก็มีการจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนเอาไว้ เช่น ไม่ให้มีพรรคการเมืองพรรคอื่นนอกจากพรรคคอมมิวนิสต์ลาว ไม่ให้ประชาชนเสนอร่างกฎหมาย การเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญประชาชนทำไม่ได้ เป็นต้น ที่ว่ามาทั้งหมดนี้ชี้ให้เห็นว่า พรรคคอมมิวนิสต์ลาวมีอำนาจสูงสุดและมีอำนาจชี้ขาดต่อมาเรามาดูสิ่งต่างๆที่บ่งชี้ว่าลาวเป็นเผด็จการ นอกเหนือจากโครงสร้างการเมืองแล้ว ในประเทศลาวเองมีการปิดกั้นสื่อมากมายเช่นโทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น เพราะทางรัฐบาลกลัวว่าจะเป็นภัยต่อการปกครองของเขา เขาจึงต้องปิดกั้นทำให้ประเทศลาวมีดัชนีการพัฒนามนุษย์อยู่ในระดับต่ำและถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศพัฒนาน้อยหรือด้อยการพัฒนานั้นเอง นอกจากนี้มีกฎหมายของลาวมาตรานึงระบุว่า "ถ้าใครที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทจากต่างประเทศ หรือเก่งภาษา และ คอมพิวเตอร์ ให้รับเข้าทำงานเลยโดยไม่ต้องสอบข้อเขียน" กฎหมายตัวนี้มันขัดต่อรัฐธรรมนูญลาวและยังทำให้เกิด "อภิสิทธิ์ชน" ขึ้นมาอีกด้วย ถ้าเป็นประเทศในระบอบประชาธิปไตยอย่างศรีลังกาเขาจะมีการเปิดกว้างทางการศึกษาคือให้ศึกษาตามใจชอบ และนำความรู้ที่ได้มานั้นมาใช้ให้ก่อเกิดประโยชน์มากที่สุด และทางลาวมักจะอ้างว่า "ต้องการทำให้ระบบงานทีคุณภาพ" แต่ในความจริงแล้วประชากรลาวมีไอคิวเฉลี่ย แปดสิบกว่าๆและดัชนีการพัฒนาอยู่ในระดับต่ำ และเป็นการกระทำที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญรวมไปถึงขัดต่อระบอบประชาธิปไตยที่ทางลาวมักจะอ้างว่า "ตนปกครองประชาธิปไตย" ทั้งหมดที่ผมเล่ามานี้คือโครงสร้างและองค์ประกอบทางการเมืองของลาวที่บ่งชี้ว่าทำไมลาวถึงมีสภาพเป็นประเทศเผด็จการและทำให้ลาวมีเสถียรภาพ ผมยอมรับว่าลาวเป็นประเทศที่มีเสถียรภาพสูงแต่เสถียรภาพที่ได้มานั้นมันไม่ได้เป็นไปตามวิถีประชาธิปไตยตามที่รัฐบาลลาวอ้างและไม่ได้เป็นตามทางของรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ซึ่งตรงจุดนี้ทางพรรคอาจจะมองว่าตนมีอภนาจสูงสุดจะทำไรก็ได้ แนวคิดนี้ถึงทำให้เกิดอภิสิทธิ์ชน รวมไปถึงการปิดกั้นสื่อต่างๆทำให้ประชาชนไม่ได้รับข่าวสารอะไรอย่างทั่วถึงการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลและผู้แทนของตนก็เกิดขึ้นไม่ได้ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเสถียรภาพทางการเมืองของลาวได้มาโดยไม่มีความชอบธรรมเอาเสียเลย การที่นักข่าวคนนั้นบอกว่าการเมืองลาวมีเสถียรภาพมากกว่าไทยเป็นคำกล่าวที่ถูกแต่เป็นการยกย่องว่าระบอบเผด็จการดีกว่าประชาธิปไตยเพราะเขาไม่ได้ระบุว่าทำไมลาวถึงมีเสถียรภาพทางการเมืองมากกว่าไทยและเพราะเหตุใดทำฃมลาวถึงล้าหลังกกว่าประเทศอื่นๆในอาเซียน รวมๅปถึงในประเทศลาวเองก็มีกบฎเกิดขึ้นมากมายตั้งแต่สมัยที่ถูกปกครองโดยฝรั่งเศสซึ่งคราวหน้าผมจะมาเล่าให้ฟัง มาถึงตรงนี้ผมอยากจะบอกสื่อเองไม่ควรจะนำเสนออะไรที่มันไม่ถูกต้องทั้งหมด จะต้องนำเสนอด้วยว่าทำไมถึงเป็นเช่นนี้และที่มาที่ไปของเรื่องนี้มายังไง มิฉะนั้นแล้วคนจะสามารถตีความไปในทิศทางอื่นได้…………………………….
    คัดมาจากบทความของพี่ไมตรี จิต

  5. ถึงจะมีพรรคเดียวแต่อย่างน้อยผู้นำก็มาจากการเลือกตั้งนะครับ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *