Skip to content
Home » ใครมีหน้าที่ยื่นเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม(ภ.พ 36) | ยื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม

ใครมีหน้าที่ยื่นเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม(ภ.พ 36) | ยื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม

ใครมีหน้าที่ยื่นเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม(ภ.พ 36)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

รายการอาจารย์มานพพบปัญหา 440 Yellowการบัญชี www.yellowaccounting.com โดย อ.มานพ สีเหลือง และ อ.เจี๊ยบ

ใครมีหน้าที่ยื่นเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม(ภ.พ 36)

ยื่นแบบภาษี VAT เองได้(#4) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.10


ยื่นแบบนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ.30 คำนวณมาจาก ภาษีขาย ภาษีซื้อ
ภาษีขาย มากกกว่า ภาษีซื้อ ต้องชำระค่าภาษี
ภาษีขาย น้อยกว่า ภาษีซื้อ มีสิทธิ์ขอคืนหรือนำไปชำระภาษีขายในเดือนถัดไป
ถ้ายังอยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม แม้ไม่มีรายการซื้อหรือขายก็ต้องยื่นแบบนำส่งภาษี แบบ ภ.พ.30
======================================================
ติดตามคลิปที่เกี่ยวข้องกับภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT
1. จด VAT น่ากลัวจริงหรือ?!? 1 บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.6
https://youtu.be/VWvPkJJfFzA
2. ใบกำกับภาษี แบบเต็มรูป VS. แบบย่อ ต่างกันอย่างไร?!? 2 บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.7
https://youtu.be/ywJZQxzat0Y
3. รายงานที่เกียวข้องกับ VAT ทำเองได้ 3 บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.8
https://youtu.be/JSp902jluSc

ยื่นแบบภาษี VAT เองได้(#4) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.10

EP.48 วิธีคิดค่าเบี้ยปรับเงินเพิ่ม ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณียื่นเพิ่มเติม


วิธีคิดค่าเบี้ยปรับเงินเพิ่ม ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณียื่นเพิ่มเติม  ถ้ามีคำถามเรื่องบัญชีและภาษีถามพี่นัดเข้ามาได้ทาง Line@/@pnut_account_tax หรือโพสถามไว้ได้ที่ comment ด้านล่าง พี่นัดจะเข้ามาตอบให้ทุกคำถามครับ
Facebook : https://www.facebook.com/PNUTAccountTax114877353212653/?modal=admin_todo_tour
Youtube : https://www.youtube.com/channel/UClAyTkvajTzMJ5arXgWJSTg?view_as=subscriber
Line@ : @pnut_account_tax

EP.48 วิธีคิดค่าเบี้ยปรับเงินเพิ่ม ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณียื่นเพิ่มเติม

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?


สรุป EFiling ระบบยื่นภาษีแบบใหม่ของสรรพากร มีอะไรที่ต้องรู้บ้าง ? พรี่หนอมสรุปให้ฟังครับ
ตั้งแต่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป กรมสรรพากรจะเปิดให้บริการใหม่ สำหรับการยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ต โดยมีการปรับปรุงใน 3 ด้านหลัก ๆ ดังนี้
เรื่องแรก การลงทะเบียนยื่นแบบ
1. ผู้ประกอบการสามารถยื่นแบบแยกสาขา หรือ รวมสาขาได้ สำหรับกรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิมและธุรกิจเฉพาะ
2. เพิ่มช่องทางของ Service Provider ให้สามารถช่วยยื่นแบบ หรือจัดเตรียมแบบแสดงรายการภาษีให้ได้
เรื่องที่สอง การยื่นแบบแสดงรายการ
1. ระบบช่วยคำนวณค่าความคลาดเคลื่อน ±20 ภาษีที่ชำระ(ขอคืน) สำหรับแบบ ภ.พ.30
2. สามารถยื่นแบบเกินกำหนดเวลาได้แล้ว
3. ระบบจะช่วยคำนวณเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับอาญาที่ประหยัดเงินผู้เสียภาษีมากที่สุดให้ได้
4. ยื่นภาษีผิดไป (ไม่มีชำระ) ยกเลิกแบบเองได้ ยื่นได้ทุกแบบ ทุก Browser และ Save แบบร่างเก็บไว้ได้ด้วยนะ
เรื่องที่สาม การชำระเงิน
สามารถออกใบเสร็จได้ทันทีที่ชำระ อยากชำระแบบไม่ปัดเศษก็ได้
โดยสิ่งทีต้องทำ คือ ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ เพื่อให้สามารถใช้ระบบใหม่ได้อย่างสมบูรณ์ สามารถเริ่มได้ตั้งแต่วันนี 31 ธันวาคม 2564 ครับ
อัพเดทล่าสุด : ตอนนี้กรมสรรพากรได้ปิดการใช้งานระบบยืนยันบัญชีผู้ใช้งานชั่วคราว สำหรับคนที่ยืนยันแล้ว สามารถใช้งานระบบใหม่ได้ทันทีในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 ดังนั้นในช่วงนี้ให้ยื่นภาษีโดยใช้ ชื่อผู้ใช้ (Username) และ รหัสผ่าน (Password) เดิมก่อน ส่วนผู้ที่ยังไม่ได้ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ ระบบจะเปิดให้ยืนยันอีกครั้งในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป
0:00 Intro
0:52 ระบบ efiling
1:22 การลงทะเบียนใหม่
3:02 การยื่นภาษีแบบใหม่
7:28 การชำระภาษีแบบใหม่
8:56 จะใช้ต้องทำยังไง?
10:07 สรุป

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?

คนไม่ฉลาดเท่านั้นที่จด VAT และคนรวยเค้าก็หนีภาษีกันหมด จริงป่ะ?


คุณเคยได้ยินคนอาบน้ำร้อนมาก่อนพูดใส่คุณแบบนี้มั้ย?
คุณคิดว่ามันจริงมั้ย?
แล้วจะจดไปทำไม?
ผมว่าคำถามนี้มันมีคำตอบในตัวมัน
และวิดีโอพยายามสรุปแบบภาษาชาวบ้าน
ไม่ใช่นักการบัญชี
ไม่ใช่สรรพากร
ตามที่ผมเข้าใจ พร้อมแนวคิดง่ายๆ
ก่อนจะกระแดะเข้า VAT โดยยังไม่จำเป็น
ลองถามตัวเองดูก่อนครับ
เพราะไม่มีใครตอบคำถามนี้ได้ดีกว่า
ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการเอง
ถ้ายังคิดไม่ออกจริงๆ
ปิดบริษัททำอย่างอื่นเถอะครับ เชื่อผม
พูดแรงแต่จริงใจครับ
CEOน้อย100M
เมตรแรกก็พร้อมแล้ว
ถ้ามันดีพอรบกวนแชร์ไปให้ถึงดาวนาเม็ก

คนไม่ฉลาดเท่านั้นที่จด VAT และคนรวยเค้าก็หนีภาษีกันหมด จริงป่ะ?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่BUSINESS & INVESTMENT tại đây

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *