Skip to content
Home » สิทธิประกันสังคมที่ผู้ประกันตนต้องรู้ : รู้เท่ารู้ทัน (18 เม.ย. 62) | หัก ค่า ประกัน สังคม

สิทธิประกันสังคมที่ผู้ประกันตนต้องรู้ : รู้เท่ารู้ทัน (18 เม.ย. 62) | หัก ค่า ประกัน สังคม

สิทธิประกันสังคมที่ผู้ประกันตนต้องรู้ : รู้เท่ารู้ทัน (18 เม.ย. 62)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ประกันสังคม คือ การสร้างหลักประกันให้กับชีวิตในกลุ่มของสมาชิกที่มีรายได้ และมีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม โดยจุดประสงค์ของการทำประกันสังคม เพื่อให้ผู้ประกันตนมีหลักประกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ชีวิตประจำวัน โดยที่บางคนไม่รู้ด้วยซ้ำว่าจ่ายค่าประกันตนไป สิทธิที่ตัวเองจะได้รับมีอะไรบ้าง มาทำความรู้จักกับประเภทของผู้ประกันตน และสิทธิที่ผู้ประกันตนจะได้รับ
ติดตามชมประเด็นรู้เท่ารู้ทัน ในช่วง \”วันใหม่ ไทยพีบีเอส\” ทุกวันจันทร์ ศุกร์ ทางไทยพีบีเอส หรือชมย้อนหลังได้ทาง http://www.thaipbs.or.th/Rutan

กด Subscribe
ติดตามรายการดีๆของช่อง ได้ที่ : http://goo.gl/hdy2ye
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
Google Plus : http://www.thaipbs.or.th/GooglePlus
LINE : http://bit.ly/2GtS44i
Youtube : http://www.youtube.com/user/ThaiPBS

สิทธิประกันสังคมที่ผู้ประกันตนต้องรู้ : รู้เท่ารู้ทัน (18 เม.ย. 62)

คำนวณหักเงินประกันสังคมในExcel


โดย อ.มานพ สีเหลือง

คำนวณหักเงินประกันสังคมในExcel

Ep.109 | วิธีการคำนวนเงินสมทบ 0.5% ของค่าจ้าง พร้อมมีตัวอย่างให้ดู | by HR_พี่โล่


Ep.109 | วิธีการคำนวนเงินสมทบ 0.5% ของค่าจ้าง พร้อมมีตัวอย่างให้ดู | by HR_พี่โล่
รายได้ที่นำไปคำนวณเพื่อคิดเงินสมทบประกันสังคม คือ รายได้ที่นายจ้างจ่ายเป็นเงินค่าตอบแทนการทำของลูกจ้างในช่วงเวลาทำงานปกติ ไม่ว่าจะจ่ายเป็นรายชิ้น รายชั่วโมง รายวันหรือรายเดือน ส่วนรายได้อื่น ๆ เช่น ค่าลวงเวลา ค่าตอบแทนวันหยุด หรือค่าคอมมิชชั่น จะไม่นำมารวมในการคำนวณในครั้งนี้ค่ะ
โดยการคำนวนจะนำนำรายได้ต่อเดือนมาคำนวณเพื่อหักนำส่งเงินสมทบ โดยใช้ฐานค่าจ้างต่ำสุด 1,650 บาท ใครที่รายได้ในเดือนนั้นไม่ถึง 1,650 บาท ก็ต้องในฐานนี้ไปคำนวน และในขณะเดียวกันฐานค่าจ้างสูงสุดที่นำไปคำนวณเพดานจะอยู่ที่ไม่เกิน 15,000 บาทต่อเดือน ไม่ว่าเงินเดือนจะสูงกว่านี้ไปเป็นหลักหลายหมื่น หลักแสน หรือหลักล้าน ก็ใช้เพดานสูงสุดได้เพียง 15,000 บาทต่อเดือนค่ะ
01:12 หลักการคำนวนเงินสมทบ
01:52 ฐานค่าจ้างที่ใช้คำนวนเงินสมทบ
02:28 วิธีคำนวนเงินสมทบและตัวอย่าง
ลดเงินสมทบประกันสังคม คำนวนเงินสมทบประกันสังคม HRพี่โล่

Ep.109 | วิธีการคำนวนเงินสมทบ 0.5% ของค่าจ้าง พร้อมมีตัวอย่างให้ดู | by HR_พี่โล่

Excel การคำนวณเงิน ประกันสังคม จากเงินเดือน


เงื่อนไขการคำนวณเงิน ประกันสังคม
1. ถ้าเงินเดือนไม่เกิน 15,000 บาท ให้นำเงินเดือนที่ได้ มาคิดที่ 5%
2. ถ้าเงินเดือน เกิน 15,000 บาท ให้นำเงิน 15,000 มาคิดที่ 5%
^_^ รบกวนกดติดตามด้วยนะค่ะ ^_^
PJ Excel Channel
เว็บแนะนำ การใช้งาน Excel https://sites.google.com/site/excel2workshop/

Excel การคำนวณเงิน ประกันสังคม จากเงินเดือน

สรุปประเด็น #ประกันสังคม ที่ควรรู้สำหรับ #นายจ้าง และ #ลูกจ้าง เพื่อการหักนำส่งและขอชดเชยแบบครบถ้วน


อัพเดท!! มาตรการประกันสังคมล่าสุด สำหรับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด19 พรี่หนอมทำสรุปทั้งหมดที่ควรรู้มาฝากกันครับแยกออกเป็น 2 ส่วนที่ควรรู้ ทั้งส่วนของ นายจ้าง และ ลูกจ้าง ที่ต้องหักและนำส่ง การขยายระยะเวลาการนำส่ง และกรณีขอรับเงินชดเชยจากประกันสังคมเพื่อรับสิทธิ เฉพาะระบบประกันสังคมตามมาตรา 33 เท่านั้น
สรุปประเด็นที่สำคัญ สำหรับเรื่อง ประกันสังคม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
1) ส่วนของการลดอัตราสมทบเงินประกันสังคมสำหรับนายจ้างและลูกจ้างที่ยังนำส่งอยู่รวมถึงการยื่นนำส่งเงินที่ขยายเวลาออกไป (ออกเป็นกฎหมายแล้ว)
1.1) อัตราสมทบของนายจ้างอยู่ที่ 4% ส่วนของลูกจ้างอยู่ที่ 1% ตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึง พฤษภาคม 2563
1.2) ขยายเวลานำส่งเงินสมทบไปอีก 3 เดือนตั้งแต่เดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2563 โดยให้นำส่งในเดือนกรกฎาคม กันยายน 2563
2) ส่วนของการขอเงินชดเชยผู้ที่ได้รับผลกระทบทั้งกรณีปิดกิจการ เหตุสุดวิสัย (รัฐสั่งปิด/กักตัว) ได้รับเงินชดเชยเท่าไร มีเงื่อนไขอะไรบ้าง (ยังไม่ออกเป็นกฎหมาย)
ผู้ที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากประกันสังคม ต้องมีองค์ประกอบสามเงื่อนไข คือ อยู่ในระบบตามมาตรา 33 นายจ้างต้องปิด หรือถุกสั่งปิดกิจการ หรือถูกสั่งกักตัว และต้องไม่ได้รับเงินค่าจ้าง
โดยกรณีที่นายจ้างเลิกกิจการ หรือไม่ได้รับค่าจ้าง หรือ ถูกให้ออก กรณีว่างงาน จะได้รับเงินชดเชยกรณีว่างงานในอัตรา 70% ของค่าจ้างแต่ไม่เกิน 200 วัน
แต่กรณีนายจ้างถูกสั่งปิดชั่วคราว หรือ รัฐสั่งปิด หรือ นายจ้างสั่งให้กักตัว จะได้รับเงินชดเชยกรณีเหตุสุดวิสัย 62% ของค่าจ้างแต่ไม่เกิน 90 วัน และนายจ้างต้องยื่นแจ้งหนังสือรับรองการหยุดงาน โดยระบุวันเริ่มต้นหยุดงาน และวันที่ครบกำหนดผ่านเวปไซด์ sso.go.th ด้วยเช่นกัน
รายละเอียดทั้งหมดฟังได้ตามคลิปนี้ หรือดูเป็นตารางได้ที่ https://www.facebook.com/TaxBugnoms/posts/4301559953202721
เราไม่ทิ้งกัน ประกันสังคม รายได้ลดลง เงินชดเชย ลงทะเบียน นายจ้าง ลูกจ้าง ตกงาน SSO มาตรการประกันสังคม เหตุสุดวิสัย เงินช่วยเหลือ
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

สรุปประเด็น #ประกันสังคม ที่ควรรู้สำหรับ #นายจ้าง และ #ลูกจ้าง เพื่อการหักนำส่งและขอชดเชยแบบครบถ้วน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่BUSINESS & INVESTMENT tại đây

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *