Skip to content
Home » สามัคคีเภทคำฉันท์ (วสันตดิลกฉันท์๑๔) #วสันตดิลกฉันท์14 | วสันตดิลก

สามัคคีเภทคำฉันท์ (วสันตดิลกฉันท์๑๔) #วสันตดิลกฉันท์14 | วสันตดิลก

สามัคคีเภทคำฉันท์ (วสันตดิลกฉันท์๑๔) #วสันตดิลกฉันท์14


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

Created by InShot:https://inshotapp.page.link/YTShare

สามัคคีเภทคำฉันท์ (วสันตดิลกฉันท์๑๔) #วสันตดิลกฉันท์14

ตำนานพาหุงมหากา EP.4 ทรงทรมานจอมโจรองคุลีมาล ด้วยพุทธธรรม


ตำนานพาหุงมหากา : พาหุง ชัยชนะแห่งพุทธะ
บทสวดพาหุง หรือ “พุทธชัยมงคลคาถา”เป็นบทสวดสรรเสริญชัยชนะครั้งสำคัญขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่มีต่อมนุษย์และอมนุษย์ มีทั้งหมด๘บท ซึ่งพระสงฆ์มักใช้สวดต่อท้ายการทำวัตรเช้าเย็น และมักจะตามด้วยบทมหาการุณิโกหรือ “ชัยปริตร ” นิยมเรียกรวมกันว่าสวด “พาหุงมหากา ” ส่วนที่มานั้น ค่อนข้างสับสน บางกระแสว่าน่าจะแต่งโดยนักปราชญ์ศรีลังกา เพราะพระลังกาสวดกันได้ทุกรูป บางกระแสระบุว่า คาถาพาหุง แต่งที่เมืองไทย ศาสตราจารย์พิเศษเสฐียรพงษ์ อ้างทัศนะของ อ. สุชีพ ปุญญานุภาพ ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสนาพุทธ ที่ระบุว่า เมื่อครั้งสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า รัชกาลที่ ๖ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงประกาศสงครามกับประเทศเยอรมนี ออสเตรีย และฮังการี เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๑ โดยเข้าร่วมกับ ฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ และทรงได้ส่งทหารไปสู่สงครามเมื่อวันที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๑ นั้น พระองค์ทรงนำกองทัพสวดคาถาพาหุง พร้อมทั้งคำแปลที่ทรงพระราชนิพนธ์ เป็นวสันตดิลกเพื่อชัยชนะแห่งกองทัพไทย และฝ่ายพันธมิตร โดยฉันท์พระราชนิพนธ์บทนี้ ทรงนำเอา “ชยมังคลอัฏฐกคาถา” บทแรก (คือบทพาหุง) มาลงไว้ดัดแปลงตอนท้ายจากเดิม ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ เป็น ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะสิทธิ นิจจัง
นักวิชาการบางท่านสันนิษฐานว่า ผู้ประพันธ์คาถานี้คือพระมหาพุทธสิริเถระ ซึ่งรจนาคัมภีร์ฎีกาพาหุง ในราว พ.ศ. 2006 ตรงกับสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ซึ่งการมีอยู่ของคัมภีร์ฎีกาพาหุง ทำให้สามารถอนุมานได้ว่า พระคาถานี้น่าจะแต่งขึ้นก่อนพุทธศตวรรษที่ 2100 ทั้งนี้ บางกระแสระบุว่า คาถานี้ชื่อว่า “บทถวายพรพระ” เพราะแต่งถวายพระเจ้าแผ่นดินชนะศึก
แต่จากคำบอกเล่าของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) ระบุว่าเป็นสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
จากคำสอนของพ่อจรัญ วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บุรี ท่านเล่าว่าได้พบกับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดป่าแก้ว แห่งกรุงศรีอยุธยาในนิมิต และได้ทราบว่า คาถาพาหุงมหากานี้ เป็นบทสวดที่สมเด็จพระพนรัตน์ ได้จารึกถวายต่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ไว้สวดเป็นประจำระหว่างอยู่ในพระบรมหาราชวัง หรือระหว่างออกศึกสงคราม เพื่อให้มีชัยต่อพระมหาอุปราชแห่งพม่า และกอบกู้กรุงศรีอยุธยาจากกรุงหงสาวดีได้สำเร็จ
ซีรีย์พาหุงมหากา มีทั้งหมด 8 ep
EP1 : มหาบุรุษ ผู้มีชัยชนะเหนือกองทัพพญามาร
EP2: ทรงดับความดุร้ายของอสูร ด้วยขันติธรรม
EP3:ทรงกรุณาพญาคชสาร ด้วยกระแสเมตตาจิต
EP4:ทรงทรมานจอมโจรองคุลีมาล ด้วยพุทธธรรม
EP5:ทรงชนะมารยาสตรี ด้วยปาริสุทธิ์แห่งพุทธะ
EP6:สัจจกนิครนถ์ ต้องอับจนด้วยวิมุตติปัญญา
EP7:ทรงทรมานจอมนาคาผู้เรืองฤทธิ์
EP8:ทรงแก้ความเห็นผิดในหมู่พรหม และบทอวยชัย ชัยปริตร (มหากา)
ขอขอบคุณ ข้อมูลจาก www.jitdrathanee.com และหนังสือ พาหุง ชัยชนะแห่งพุทธะ ของกองบุญสื่อธรรมะดี จิดตระธานี
ขอบคุณข้อมูลภาพจาก pinterest
https://xnv3cdwa6co.com/
www.naryak.com
https://www.jitdrathanee.com/
https://kr.123rf.com/photo
ชื่อผลงาน โปรดช้างนาฬาคีรี
เทคนิค สีฝุ่นบนพื้นดินสอพอง
โดย นาย อนุชาติ ชมภูรัตน์
อรุณสวัสดิ์ครับ จันทกุมารชาดก ผลงงานของนายวรพงศ์ บุญปักษ์ นักศึกษา สาขาจิตรกรรมไทย ชั้นปีที่๓ โรงเรียนเพาะช่าง
จิตรกรรมฝาผนังพุทธประวัติ ตอนปราบช้างนาฬาคีรี วัดสามแก้ว จ.ชุมพร
https://f893.wordpress.com/%E0%B8%A8%…
Viri Chaiwat saved to ผลงาน อ.จักรพันธุ์ โปษยกฤต
https://pantip.com/
https://www.kapook.com/
ติดต่อรับงานพากย์ ลงเสียง ผลิตคลิปvdo ผลิตvdoพรีเซนต์ tel.0835636554 , 0898974865

ตำนานพาหุงมหากา พาหุงมหากา พาหุง

ตำนานพาหุงมหากา EP.4 ทรงทรมานจอมโจรองคุลีมาล ด้วยพุทธธรรม

บทอาขยานบทเลือก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 สามัคคีเภทคำฉันท์


โลก
ผู้ประพันธ์ ชิต บุรทัต
บทอาขยานบทเลือก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 46

บทอาขยานบทเลือก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 สามัคคีเภทคำฉันท์

วสันตดิลกฉันท์ ๑๔


นางสาว บวรลักษณ์ พนาพนม เลขที่ 20 ห้อง1
นักศึกษาชั้นปีที่2 รหัสนักศึกษา 633150610283
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยนครพนม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ฐนพรรณ ธูปหอม
รายวิชา การอ่านร้อยแก้วและร้อยกรองเชิงนวัฒกรรมวรรณศิลป์

วสันตดิลกฉันท์ ๑๔

ฝึกอ่านวสันตดิลกฉันท์ ทำนองธรรมดา


ฝึกอ่านวสันตดิลกฉันท์ ทำนองธรรมดา

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่VIRTUAL CURRENCY tại đây

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *