Skip to content
Home » #เหรียญดอลลาร์สิงคโปร์\”เหรียญ 5-10-20 เซน สิงคโปร์\”Singapore dollar หรือ SGD | ค่า เงิน เหรียญ สิงคโปร์

#เหรียญดอลลาร์สิงคโปร์\”เหรียญ 5-10-20 เซน สิงคโปร์\”Singapore dollar หรือ SGD | ค่า เงิน เหรียญ สิงคโปร์

#เหรียญดอลลาร์สิงคโปร์\”เหรียญ 5-10-20 เซน สิงคโปร์\”Singapore dollar หรือ SGD


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ระบบการเงินและอัตราแลกเปลี่ยน
สกุลเงินของสิงคโปร์ที่เรียกอยํางเป็นทางการ คือ Singapore dollar หรือ SGD ซึ่งสกุลเงินของ
สิงคโปร์สามารถแยกออกได๎เป็น 2 ประเภท คือ ธนบัตร และ เหรียญ ดังนี้
เงินเหรียญสิงคโปร์
เงินเหรียญสิงคโปร์สามารถแยกออกได๎เป็น ดังนี้ 1 เหรียญฯ 50 เซนต์ 20 เซนต์ 10 เซนต์
และ 5 เซนต์\rเหรียญประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และเป็นประเทศที่เป็นเกาะขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 1 องศา หรือประมาณ 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะโฮร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน
หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน ค.ศ. 1819 โดยเซอร์สแตมฟอร์ด รัฟเฟิลส์ (Stamford Raffles) เป็นสถานีการค้าของบริษัทอินเดียตะวันออกโดยการอนุญาตจากรัฐสุลต่านยะโฮร์ อังกฤษได้อธิปไตยเหนือเกาะใน ค.ศ. 1824 และสิงคโปร์กลายเป็นหนึ่งในนิคมช่องแคบอังกฤษใน ค.ศ. 1826 หลังถูกญี่ปุ่นยึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สิงคโปร์ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1963 และเข้าร่วมกับอดีตดินแดนของอังกฤษอื่นเพื่อตั้งประเทศมาเลเซีย แต่ถูกขับอีกสองปีต่อมาผ่านพระราชบัญญัติโดยเอกฉันท์ นับแต่นั้น ประเทศสิงคโปร์พัฒนาอย่างรวดเร็ว จนได้รับการรับรองว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย
ประเทศสิงคโปร์เป็นศูนย์กลางพาณิชย์สำคัญของโลกแห่งหนึ่ง โดยเป็นศูนย์กลางการเงินใหญ่สุดเป็นอันดับสี่และเป็นหนึ่งในห้าท่าที่วุ่นวายที่สุด เศรษฐกิจซึ่งเป็นโลกาภิวัฒน์และมีความหลากหลายอาศัยการค้าเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิต ซึ่งคิดเป็นประมาณ 30% ของจีดีพีของสิงคโปร์ในปี พ.ศ. 2556 ในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ ประเทศสิงคโปร์มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับสามของโลกแต่มีความเหลื่อมล้ำของรายได้รุนแรงที่สุดในหมู่ประเทศพัฒนาแล้ว ประเทศสิงคโปร์ได้รับการจัดอันดับสูงในแง่การศึกษา สาธารณสุขและความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจ เมื่อปลายเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2557 มีประชากรอาศัยอยู่ในประเทศสิงคโปร์เกือบ 5.5 ล้านคน ซึ่งกว่า 2 ล้านคนมีสัญชาติต่างชาติ แม้สิงคโปร์จะมีความหลากหลาย แต่เชื้อชาติเอเชียมีมากที่สุด 75% ของประชากรเป็นชาวจีน โดยมีชนกลุ่มน้อยที่สำคัญ เช่น ชาวมลายู ชาวอินเดียและชาวยูเรเชีย มีภาษาราชการสี่ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู ภาษาจีนกลาง และภาษาทมิฬ และประเทศสนับสนุนพหุวัฒนธรรมนิยมผ่านนโยบายทางการต่าง ๆอีกด้วย
ประเทศสิงคโปร์เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา รัฐเดี่ยว และใช้ระบบหลายพรรคการเมือง โดยมีการปกครองสภาเดี่ยวระบบเวสต์มินสเตอร์ พรรคกิจประชาชนชนะการเลือกตั้งทุกครั้งนับแต่เริ่มการปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2502 ภาวะครอบงำของพรรคกิจประชาชน ประกอบกับระดับเสรีภาพสื่อต่ำและการปราบปรามเสรีภาพพลเมืองและสิทธิการเมืองนำให้ประเทศสิงคโปร์ถูกจัดเป็นประชาธิปไตยไม่สมบูรณ์ (flawed democracy) ประเทศสิงคโปร์เป็นหนึ่งในห้าสมาชิกผู้ก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ยังเป็นที่ตั้งของสำนักเลขาธิการความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชียแปซิฟิก (เอเปก) และสมาชิกการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดและเครือจักรภพแห่งประชาชาติ การพัฒนาอย่างรวดเร็วของประเทศสิงคโปร์นำให้มันมีอิทธิพลอย่างสำคัญในกิจการโลก นำให้นักวิเคราะห์บางส่วนระบุว่าเป็นอำนาจปานกลาง (middle power)
ธนบัตรชุดปัจจุบันได้ถูกนำมาใช้ครั้งแรกใน พ.ศ. 2542 ธนบัตรที่ไม่ถูกใช้ในการหมุนเวียนทั่วไป คือ ธนบัตร 1 และ 500 ดอลลาร์ ส่วนธนบัตรที่ถูกใช้หมุนเวียนทั่วไปมี 7 ชนิด ได้แก่ ธนบัตร 2, 5, 10, 50, 100, 1000 และ 10000 ดอลลาร์
ธนบัตรที่หมุนเวียนใช้ในระบบเศรษฐกิจ [1]ภาพ มูลค่า ขนาด สี คำอธิบาย วันที่ออกใช้ วัสดุ
ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านหน้า ด้านหลัง
2 ดอลลาร์ 126 × 63 มม. ม่วง ประธานาธิบดี ยูซุฟ บิน อิสฮะก์ การศึกษา 9 กันยายน พ.ศ. 2542 กระดาษ
12 มกราคม พ.ศ. 2549 พอลิเมอร์
5 ดอลลาร์ 133 × 66 มม. เขียว ประธานาธิบดี ยูซุฟ บิน อิสฮะก์ สวนและเมือง 9 กันยายน พ.ศ. 2542 กระดาษ
18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 พอลิเมอร์
$10 10 ดอลลาร์ 141 × 69 มม. แดง ประธานาธิบดี ยูซุฟ บิน อิสฮะก์ กีฬา 9 กันยายน พ.ศ. 2542 กระดาษ
$10 $10 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 พอลิเมอร์
$50 $50 50 ดอลลาร์ 156 × 74 มม. น้ำเงิน ประธานาธิบดี ยูซุฟ บิน อิสฮะก์ ศิลปะ 9 กันยายน พ.ศ. 2542 กระดาษ
$100 $100 100 ดอลลาร์ 162 × 77 มม. ส้ม ประธานาธิบดี ยูซุฟ บิน อิสฮะก์ ประชาชน กระดาษ
$1000 $1000 1000 ดอลลาร์ 170 × 83 มม. ชมพู ประธานาธิบดี ยูซุฟ บิน อิสฮะก์ รัฐบาล กระดาษ
$10000 $10000 10,000 ดอลลาร์ 180 × 90 มม. ทอง ประธานาธิบดี ยูซุฟ บิน อิสฮะก์ เศรษฐศาสตร์ กระดาษ

#เหรียญดอลลาร์สิงคโปร์\

แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ(อัพเดทค่าเงิน01/04/2020)


สนใจรับข้อมูลที่อัพเดทที่LINE ID:@chansamsao

แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ(อัพเดทค่าเงิน01/04/2020)

Singapore Old Coins (1985 – 2013 ) | Second Series Coins set | Singapore Dollar and Cents Values


Singapore Old Coins (1985 2013 ), Second Series Coins set view and descriptions

Singapore Old Coins (1985 - 2013 ) | Second Series Coins set | Singapore Dollar and Cents Values

how to calculate currency คำนวณเรทเงิน


วิธีการคำนวณเรทเงิน \r
\r
สูตร / เทคนิคการจำ\r
ถ้าเป็นเงินต่างประเทศ ให้ x (คูณ) เสมอ\r
ถ้าเป็นเงินไทย ให้ / (หาร) เสมอ\r
\r
โดยจะต้องเข้าใจถึงตาราง Buy , Sell ด้วย\r
ถ้าคุณมีเงินต่างประเทศให้ดูฝั่ง Buy (หมายถึง ทางร้านรับซื้อ)\r
ถ้าคุณมีเงินไทยให้ดูฝั่ง Sell (ความหมายคือ ทางร้านขายเงินให้คุณ)\r
\r
เช็คเรท real time ได้ที่เว๊บ\r
www.k79exchange.com\r
\r
หรือโทรสอบถามได้ที่\r
023318043

how to calculate currency คำนวณเรทเงิน

ราคาเหรียญ50เซนต์1990 สิงคโปร์ อยู่เท่าไร | 50 Cent 1990 Singapore Coin


ราคาเหรียญ50เซนต์1990 สิงคโปร์ อยู่เท่าไร
50 Cent 1990 Singapore Coin
ราคาเหรียญสิงคโปร์

ราคาเหรียญ50เซนต์1990 สิงคโปร์ อยู่เท่าไร | 50 Cent 1990 Singapore Coin

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่BUSINESS & INVESTMENT tại đây

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *