Skip to content
Home » สดุดีอัสสัมชัญ – Sadudee Assumption | อัส สั ม ชัน

สดุดีอัสสัมชัญ – Sadudee Assumption | อัส สั ม ชัน

สดุดีอัสสัมชัญ – Sadudee Assumption


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

เพลงสดุดีอัสสัมชัญ (Glorify Assumption) เป็นเพลงประจำโรงเรียนอัสสัมชัญ และ โรงเรียนอื่นในเครืออัสสัมชัญ\r
เป็นเพลงหนึ่งที่ได้ชื่อว่าเป็นเพลงที่ปลุกความเป็น \”อัสสัมชัญ\” ในบรรดานักเรียนให้พลุ่งพล่านในสายเลือด \r
บทเพลงสดุดีอัสสัมชัญนี้ได้รับการประพันธ์ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี 2478 ในโอกาสงานเฉลิมฉลองสมโภชกึ่งศตวรรษของโรงเรียนอัสสัมชัญ ซึ่งได้เปิดทำการสอนมาจนครบวาระ 50 ปีในปีนั้น \r
\”สดุดีอัสสัมชัญ\” ได้รับการนำมาขับร้องเป็นครั้งแรกในงานดังกล่าวเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2478 และยึดถือเอาเป็นเพลงประจำสถาบันนับแต่นั้นมา\r
ต่อมาในปี พ.ศ. 2481 นายธนิต ราชภัณฑารักษ์ (OMAC 9916) ซึ่งได้ศึกษาดนตรีจาก นายโชติ สิงหเสนี (OMAC 8722) ได้แต่งคำร้องเพลงสดุดีอัสสัมชัญขึ้น โดยอาศัยทำนองเพลง Le Defile du Regiment ในหนังสือ Le Livre de Musique ของ Claude Augé เป็นหนังสือเรียนวิชาดนตรี ซึ่งภราดาหลุยส์ โนบิรอง (ผู้ให้กำเนิดวงดนตรี AC Band) (เดินทางสู่ประเทศไทยเมื่อ 7 มกราคม พ.ศ. 2450 มรณภาพเมื่อ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2510 มีฉายาว่า หลุยส์แตร) นำติดตัวมาจากประเทศฝรั่งเศสด้วย เป็นผู้สอน และเพลงสดุดีอัสสัมชัญจึงกลายเป็นเพลงประจำสถาบันนับแต่นั้น\r
แม้ว่าเพลงสดุดีอัสสัมชัญ จะเป็นเพลงหลักของโรงเรียนอัสสัมชัญ หากแต่ยังคงเป็นเพลงที่มีความสำคัญต่อนักเรียน รวมถึงผู้มี \”สายเลือดอัสสัมชัญ\” ทุกคน ทำหน้าที่เป็นดังสายใยเชื่อมโยงพี่น้อง แม้ต่างสถาบัน หากแต่ความเป็นอัสสัมชัญนั้นคือความเป็นหนึ่งเดียว ที่จะถูกรื้อฟื้นทุกครั้ง ที่เสียงเพลงสดุดีอัสสัมชัญได้ยิน และถูกเปล่งออกมาอย่างพร้อมเพรียง\r
\”อัสสัมชัญจงมาพร้อมใจกันเถิด มาชูเชิด AC ไว้ชั่วดินฟ้า\”

สดุดีอัสสัมชัญ - Sadudee Assumption

บาสเกตบอลนักเรียน กรุงเทพคริสเตียน พบกับ อัสสัมชัญ+อัสสัมชัญธนบุรี


ประลองฝีมือเพื่อคัดเลือกตัวแทนนักเรียน เขต 10 ไปแข่งขันกีฬานักเรียน นักศึกษาแห่งประเทศไทย ที่จังหวัดเชียงใหม่ เดือนกุมภาพันธ์ 2564
วันที่ 26 พฤศจิกายน 2563 ที่ศูนย์เยาวชนประชานิเวศน์

บาสเกตบอลนักเรียน กรุงเทพคริสเตียน พบกับ อัสสัมชัญ+อัสสัมชัญธนบุรี

โอลุวะ เฟรมี่ | ลูกครึ่งไทย-ไนจีเรีย


ศูนย์หน้าลูกครึ่ง ไทยไนจีเรีย
ทีมชาติไทย ยู14 และอัสสัมชัญ ธนบุรี
เจ้าของความสูง 185
เซ็นสัญญากับ \”ช้าง\” ไปแล้ว

โอลุวะ เฟรมี่ | ลูกครึ่งไทย-ไนจีเรีย

Jaturamitr โรงเรียนอัสสัมชัญ พบ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย


จัดเต็มความมันส์ กับศึกฟุตบอลขาสั้นที่มีทั้งศักดิ์ศรี เกียรติยศ เป็นเดิมพัน จตุรมิตรครั้งที่29
เกมลูกหนังที่มีมากกว่าคำว่าฟุตบอล สดทาง Facebook Live และ Youtube Live
เปิดหัวคู่แรก
โรงเรียนอัสสัมชัญ พบ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

Jaturamitr โรงเรียนอัสสัมชัญ พบ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

ทางเข้าโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา และไปหอพักนักเรียน ภายในโรงเรียน


ทางเข้าโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา และไปหอพักนักเรียน ภายในโรงเรียน

ทางเข้าโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา และไปหอพักนักเรียน ภายในโรงเรียน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่VIRTUAL CURRENCY tại đây

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *