Skip to content
Home » สกุลเงินของประเทศต่างๆในอาเซียน asean ເງິນແຕ່ລະສະກຸນຂອງປະເທດອາຊຽນ | สกุล เงิน ของ ประเทศ ฟิลิปปินส์

สกุลเงินของประเทศต่างๆในอาเซียน asean ເງິນແຕ່ລະສະກຸນຂອງປະເທດອາຊຽນ | สกุล เงิน ของ ประเทศ ฟิลิปปินส์

สกุลเงินของประเทศต่างๆในอาเซียน asean ເງິນແຕ່ລະສະກຸນຂອງປະເທດອາຊຽນ


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สำหรับสกุลเงินที่ใช้กันในหมู่ประเทศสมาชิกอาเซียน ทางประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ยังไม่มีแนวคิดที่จะใช้เงินสกุลเดียวกันเหมือนอย่างประชาคมยุโรป เพราะเกรงว่าจะเกิดปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะและวิกฤติเศรษฐกิจ แบบที่เกิดขึ้นในสหภาพยุโรปในช่วงที่ผ่านมา ซึ่งมีต้นตอสำคัญมาจากการใช้สกุลเงินร่วมกัน (สกุลเงินยูโร) นั่นเอง
 ส่วนประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศ ใช้สกุลเงินดังนี้

1. บรูไน ดารุสซาลาม
          ใช้สกุลเงิน ดอลลาร์บรูไน
          อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์บรูไน = 22.59 บาท
          ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ดอลลาร์บรูไน, 5 ดอลลาร์บรูไน, 10 ดอลลาร์บรูไน, 20 ดอลลาร์บรูไน, 25 ดอลลาร์บรูไน, 50 ดอลลาร์บรูไน, 100 ดอลลาร์บรูไน, 500 ดอลลาร์บรูไน, 1,000 ดอลลาร์บรูไน และ 10,000 ดอลลาร์บรูไน

2. ราชอาณาจักรกัมพูชา
          ใช้สกุลเงิน เรียล
          อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 เรียล = 7.54 บาท
          ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 50 เรียล, 100 เรียล, 500 เรียล, 1,000 เรียล, 2,000 เรียล, 5,000 เรียล, 10,000 เรียล, 20,000 เรียล, 50,000 เรียล และ 100,000 เรียล

3. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
          ใช้สกุลเงิน รูเปียห์
          อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ = 2.18 บาท
          ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1,000 รูเปียห์, 2,000 รูเปียห์, 5,000 รูเปียห์, 10,000 รูเปียห์, 20,000 รูเปียห์, 50,000 รูเปียห์ และ 100,000 รูเปียห์

4. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
          ใช้สกุลเงิน กีบ
          อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 กีบ = 3.52 บาท
          ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 500 กีบ, 1,000 กีบ, 2,000 กีบ, 5,000 กีบ, 10,000 กีบ, 20,000 กีบ และ 50,000 กีบ

5. มาเลเซีย

          ใช้สกุลเงิน ริงกิต
          อัตราแลกเปลี่ยน 1 ริงกิตมาเลเซีย = 7.43 บาท
          ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ริงกิต, 5 ริงกิต, 10 ริงกิต, 20 ริงกิต, 50 ริงกิต และ 100 ริงกิต

6. สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
          ใช้สกุลเงิน จ๊าด
          อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 จ๊าด = 20.32 บาทไทย
          ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 จ๊าด, 5 จ๊าด, 10 จ๊าด, 20 จ๊าด, 50 จ๊าด, 100 จ๊าด, 200 จ๊าด, 500 จ๊าด, 1,000 จ๊าด, 5,000 จ๊าด และ 10,000 จ๊าด

7. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
          ใช้สกุลเงิน เปโซ
          อัตราแลกเปลี่ยน 1 เปโซ = 0.60 บาท
          ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 เปโซ, 50 เปโซ, 100 เปโซ, 200 เปโซ, 500 เปโซ และ 1,000 เปโซ

8. สาธารณรัฐสิงคโปร์
          ใช้สกุลเงิน ดอลลาร์สิงคโปร์
          อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ = 22.59 บาท
          ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 2 ดอลลาร์สิงคโปร์, 5 ดอลลาร์สิงคโปร์, 10 ดอลลาร์สิงคโปร์, 50 ดอลลาร์สิงคโปร์, 100 ดอลลาร์สิงคโปร์, 500 ดอลลาร์สิงคโปร์, 1,000 ดอลลาร์สิงคโปร์ และ 10,000 ดอลลาร์สิงคโปร์

9. ราชอาณาจักรไทย
          ใช้สกุลเงิน บาท
          ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 บาท, 50 บาท, 100 บาท, 500 บาท และ 1,000 บาท

10. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
           ใช้สกุลเงิน ด่ง
           อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 ด่ง = 1.33 บาทไทย
           ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 100 ด่ง, 200 ด่ง, 500 ด่ง, 1,000 ด่ง, 2,000 ด่ง, 5,000 ด่ง, 10,000 ด่ง, 20,000 ด่ง, 50,000 ด่ง, 100,000 ด่ง, 200,000 ด่ง และ 500,000 ด่ง


11. สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์เลสเต

           ใช้สกุลเงิน ดอลลาร์สหรัฐ
           อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐ = 30.62 บาทไทย
           ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ดอลลาร์สหรัฐ, 2 ดอลลาร์สหรัฐ, 5 ดอลลาร์สหรัฐ, 10 ดอลลาร์สหรัฐ, 20 ดอลลาร์สหรัฐ, 50 ดอลลาร์สหรัฐ และ 100 ดอลลาร์สหรัฐ

สกุลเงินของประเทศต่างๆในอาเซียน asean ເງິນແຕ່ລະສະກຸນຂອງປະເທດອາຊຽນ

#ธนบัตรประเทศฟิลิปปินส์ 100 เปโซสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ Republic of the Philippines ฟิลิปีโน Pilipinas


เงินฟิลิปปินส์ (อังกฤษ: Philippines; ฟิลิปีโน: Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (อังกฤษ: Republic of the Philippines; ฟิลิปีโน: Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ[8] ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา[9] ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตกฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนแห่งไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์)[10] และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน[11][12] นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี พ.ศ. 2556 ยังมีชาวฟิลิปปินส์อีกประมาณ 10 ล้านคนอาศัยอยู่ในต่างประเทศ[13] รวมแล้วถือเป็นกลุ่มคนพลัดถิ่นที่ใหญ่ที่สุดกลุ่มหนึ่งของโลก ความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรมปรากฏให้เห็นตลอดทั้งหมู่เกาะ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ มนุษย์กลุ่มแรกที่เข้ามาตั้งรกรากในหมู่เกาะแห่งนี้คือกลุ่มชนนิกรีโต ตามมาด้วยกลุ่มชนออสโตรนีเซียนที่อพยพเข้ามาอย่างต่อเนื่อง[14] มีการติดต่อแลกเปลี่ยนกับชาวจีน มลายู อินเดีย และอาหรับ จากนั้นก็เกิดนครรัฐทางทะเลขึ้นมาหลายแห่งภายใต้การปกครองของดาตู ลากัน ราชา หรือสุลต่านเฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ได้มาขึ้นฝั่งที่เกาะโฮโมนโฮน (ใกล้กับเกาะซามาร์) ในปี พ.ศ. 2063 (ค.ศ. 1521) นับเป็นจุดเริ่มต้นของยุคแห่งอิทธิพลและอำนาจของสเปน ในปี พ.ศ. 2085 (ค.ศ. 1542) นักสำรวจชาวสเปนชื่อ รุย โลเปซ เด บิยาโลโบส ได้ตั้งชื่อเกาะซามาร์และเลเตรวมกันว่า \”หมู่เกาะเฟลีเป\” หรือ \”อิสลัสฟิลิปินัส\” (Islas Filipinas) เพื่อเป็นเกียรติแด่เจ้าชายเฟลีเปแห่งอัสตูเรียส (ต่อมา อิสลัสฟิลิปินัสได้กลายเป็นชื่อเรียกกลุ่มเกาะทั้งหมด) ในปี พ.ศ. 2108 (ค.ศ. 1565) มิเกล โลเปซ เด เลกัซปี ได้จัดตั้งนิคมสเปนแห่งแรกบนเกาะเซบู[15] ฟิลิปปินส์กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิสเปนเป็นเวลานานกว่า 300 ปี ส่งผลให้ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกกลายเป็นศาสนาหลักของผู้คนในหมู่เกาะ ในช่วงเวลานี้ มะนิลามีฐานะเป็นศูนย์กลางการบริหารของจักรวรรดิสเปนในเอเชีย และยังเป็นศูนย์กลางทางทิศตะวันตกของการค้าข้ามมหาสมุทรแปซิฟิก โดยเชื่อมโยงเอเชียเข้ากับเมืองอากาปุลโกในอเมริกาผ่านทางเรือใบมะนิลาในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 25 (ปีท้าย ๆ ของคริสต์ศตวรรษที่ 19) ความพยายามต่อต้านการปกครองของสเปนได้ปะทุขึ้นเป็นการปฏิวัติฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ที่ 1 ได้รับการสถาปนาขึ้นแต่ก็ดำรงอยู่ได้ไม่นาน เพราะสเปนได้ยกฟิลิปปินส์ให้แก่สหรัฐอเมริกาหลังจากแพ้สงครามสเปนสหรัฐอเมริกา ความไม่ลงรอยกันระหว่างรัฐบาลปฏิวัติกับสหรัฐอเมริกาก่อให้เกิดสงครามฟิลิปปินส์สหรัฐอเมริกาอันนองเลือด โดยกองทัพสหรัฐเป็นฝ่ายมีชัย[17] นอกเหนือจากช่วงที่ถูกญี่ปุ่นยึดครองแล้ว สหรัฐอเมริกาสามารถรักษาอำนาจอธิปไตยเหนือหมู่เกาะนี้ไว้ได้จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อฟิลิปปินส์ได้รับการรับรองว่าเป็นประเทศเอกราช ตั้งแต่นั้นมา ฟิลิปปินส์ก็ประสบความวุ่นวายทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งรวมถึงการล้มล้างผู้เผด็จการโดยการปฏิวัติที่ปราศจากความรุนแรงฟิลิปปินส์เป็นสมาชิกจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การประชุมความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชียแปซิฟิก และการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย[19] ปัจจุบันประเทศนี้ได้รับการพิจารณาว่าเป็นตลาดเกิดใหม่ (emerging market) และเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่[20] ซึ่งมีระบบเศรษฐกิจที่กำลังเปลี่ยนผ่านจากระบบที่พึ่งพิงภาคเกษตรกรรมเป็นระบบที่พึ่งพิงภาคบริการและภาคการผลิตมากขึ้น[

#ธนบัตรประเทศฟิลิปปินส์ 100 เปโซสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ Republic of the Philippines ฟิลิปีโน Pilipinas

เปรียบเทียบค่าเงินบาทไทยกับค่าเงินจ๊าดของพม่า 2020 ตามคำขอพี่FCฝั่งไทย


ค่าเงิน ปัจจุบัน ไทขืนเรียก
1บาท=42 จ๊าด
10 บาท =420 จ๊าด สีปากซาว
50 บาท=2100 จ๊าด สองเหียงหนึ่งปาก
100 บาท =4200 จ๊าด สีเหียงสองปาก
500 บาท=21000 จ๊าด สองหมื่นปายเหียง
1000บาท= 42000 จ๊าด สีหมื่นสองเหียง

เปรียบเทียบค่าเงินบาทไทยกับค่าเงินจ๊าดของพม่า 2020 ตามคำขอพี่FCฝั่งไทย

10 เรื่องน่ารู้ ประเทศฟิลิปปินส์(Philippines) ที่คุณอาจไม่เคยรู้


10 เรื่องน่ารู้ ประเทศฟิลิปปินส์(Philippines) ที่คุณอาจไม่เคยรู้
อันดับที่ 1 สถาบันสอนภาษา
อันดับที่ 2 การให้ทิป
อันดับที่ 3 สกุลเงิน
อันดับที่ 4 ปินอย
อันดับที่ 5 สถานที่ท่องเที่ยงเชิงธรรมชาติ
อันดับที่ 6 บาเกียว
อันดับที่ 7 ติดTop10ของโลก
อันดับที่ 8 รักในเสียงดนตรี
อันดับที่ 9 ไม่ชอบมะนาว
อันดับที่ 10 ภาษาราชการ
👍ถ้าชอบก็อย่าลืมกด 👍LIKE กดเเชร์และกดติดตามเพื่อไม่พลาดคริปใหม่ๆ…เเละทางช่องเราจะพัฒนาวีดีโอให้ดียิ่งขึ้นต่อไปนะครับ👍
🔔ถ้าอยากชมคริปใหม่ๆก่อนใครก็อย่าลืมกด🔔กระดิ่งด้วยนะครับ
📣หรือถ้าจะแสดงความคิดเห็นหรือติชมหรือจะแนะนำก็ ”คอมเม้น” ไว้ใต้ล่างคริปเลยครับผม

10 เรื่องน่ารู้ ประเทศฟิลิปปินส์(Philippines) ที่คุณอาจไม่เคยรู้

ประเทศฟิลิปปินส์ วิถีชีวิตและวัฒนธรรม : อาเซียน


ประเทศฟิลิปปินส์ วิถีชีวิตและวัฒนธรรม : อาเซียน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่BUSINESS & INVESTMENT tại đây

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *