Skip to content
Home » ลดหย่อนภาษี’ คืออะไร เข้าใจด้วย 6 คำถามกับ iTAX | Urban Creature | ภาษีคือ

ลดหย่อนภาษี’ คืออะไร เข้าใจด้วย 6 คำถามกับ iTAX | Urban Creature | ภาษีคือ

ลดหย่อนภาษี’ คืออะไร เข้าใจด้วย 6 คำถามกับ iTAX | Urban Creature


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

หนึ่งสิ่งที่ต้องทำในช่วงสิ้นปีของเหล่าคนทำงาน คือ ‘การลดหย่อนภาษี’ ที่บางคนก็เข้าใจ แต่บางคนก็ยังคงงงงวยอยู่ว่าทำอย่างไร และคืออะไร ต้องซื้อกองทุนเท่าไหร่ เราเลยชวนมาเข้าใจเรื่องการลดหย่อนภาษีด้วย 6 คำถามกับ ‘ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์’ CEO แห่ง ‘iTax’ แพลตฟอร์มที่จะพาทุกคนไปเข้าใจเรื่องภาษีที่ต้องคอยจ่ายกันทุกปี
.
Video Editor : Vetchapong J.
Content Writer : Sirilak S.
Graphic Designer : Jirayu P.
UrbanCreature UrbanLiving iTax ภาษี ลดหย่อนภาษี

ลดหย่อนภาษี' คืออะไร เข้าใจด้วย 6 คำถามกับ iTAX | Urban Creature

รายได้เท่าไหร่ถึงเริ่มเสียภาษี | KTAM TV ONLINE


ติดต่อได้ที่
○ ธนาคารกรุงไทยทุกสาขา
○ ผู้สนับสนุนการขายทั่วประเทศ
○ บลจ.กรุงไทย(cellphone)026866100 กด 9
ผู้ลงทุนต้องทำความเข้าใจลักษณะสินค้า
เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยง ก่อนการตัดสินใจลงทุน

รายได้เท่าไหร่ถึงเริ่มเสียภาษี | KTAM TV ONLINE

พรบ.รถยนต์/ภาษี รถยนต์ คืออะไร? ทำไมต้องทำ?


สำหรับใครที่มีรถ หรือใช้รถใช้ถนน กิ๊กคิดว่าเรื่องนี้สำคัญมากๆเลยนะคะ อย่าปล่อยให้พรบ.รถยนต์หรือภาษีรถยนต์ขาดต่ออายุนะคะ เพราะเป็นเรื่องผิดกฎหมายค่า ใครที่ดูคลิปนี้แล้วอย่าลืมไปเช็ค พรบ.รถยนต์และภาษีรถยนต์ของตัวเอง แล้วอย่าลืมไปต่อให้เรียบร้อยนะคะ 🙂
สำหรับใครที่สนใจ
ตรวจสภาพรถยนต์
ทำพรบ./ประกันภัยรถยนต์ ชั้น1/2+/3+
ฝากต่อภาษี
สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
website : www.thedriverservice.com
facebook : the driver service
Line : @thedriver_service
Follow me 🙂
facebook : https://www.facebook.com/GiggleStory107786967610649
Instagram : https://www.instagram.com/gigglegiz/?hl=th

พรบ.รถยนต์/ภาษี รถยนต์ คืออะไร? ทำไมต้องทำ?

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?


สรุป EFiling ระบบยื่นภาษีแบบใหม่ของสรรพากร มีอะไรที่ต้องรู้บ้าง ? พรี่หนอมสรุปให้ฟังครับ
ตั้งแต่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป กรมสรรพากรจะเปิดให้บริการใหม่ สำหรับการยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ต โดยมีการปรับปรุงใน 3 ด้านหลัก ๆ ดังนี้
เรื่องแรก การลงทะเบียนยื่นแบบ
1. ผู้ประกอบการสามารถยื่นแบบแยกสาขา หรือ รวมสาขาได้ สำหรับกรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิมและธุรกิจเฉพาะ
2. เพิ่มช่องทางของ Service Provider ให้สามารถช่วยยื่นแบบ หรือจัดเตรียมแบบแสดงรายการภาษีให้ได้
เรื่องที่สอง การยื่นแบบแสดงรายการ
1. ระบบช่วยคำนวณค่าความคลาดเคลื่อน ±20 ภาษีที่ชำระ(ขอคืน) สำหรับแบบ ภ.พ.30
2. สามารถยื่นแบบเกินกำหนดเวลาได้แล้ว
3. ระบบจะช่วยคำนวณเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับอาญาที่ประหยัดเงินผู้เสียภาษีมากที่สุดให้ได้
4. ยื่นภาษีผิดไป (ไม่มีชำระ) ยกเลิกแบบเองได้ ยื่นได้ทุกแบบ ทุก Browser และ Save แบบร่างเก็บไว้ได้ด้วยนะ
เรื่องที่สาม การชำระเงิน
สามารถออกใบเสร็จได้ทันทีที่ชำระ อยากชำระแบบไม่ปัดเศษก็ได้
โดยสิ่งทีต้องทำ คือ ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ เพื่อให้สามารถใช้ระบบใหม่ได้อย่างสมบูรณ์ สามารถเริ่มได้ตั้งแต่วันนี 31 ธันวาคม 2564 ครับ
อัพเดทล่าสุด : ตอนนี้กรมสรรพากรได้ปิดการใช้งานระบบยืนยันบัญชีผู้ใช้งานชั่วคราว สำหรับคนที่ยืนยันแล้ว สามารถใช้งานระบบใหม่ได้ทันทีในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 ดังนั้นในช่วงนี้ให้ยื่นภาษีโดยใช้ ชื่อผู้ใช้ (Username) และ รหัสผ่าน (Password) เดิมก่อน ส่วนผู้ที่ยังไม่ได้ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ ระบบจะเปิดให้ยืนยันอีกครั้งในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป
0:00 Intro
0:52 ระบบ efiling
1:22 การลงทะเบียนใหม่
3:02 การยื่นภาษีแบบใหม่
7:28 การชำระภาษีแบบใหม่
8:56 จะใช้ต้องทำยังไง?
10:07 สรุป

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?

#ภาษี10นาที Ep.1 : ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร คิดแบบไหน ต้องทำอะไรบ้าง?


ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ถ้าว่ากันแบบง่ายๆ คือ จำนวนเงินที่กฎหมายกำหนดให้ผู้จ่ายเงินหักออกจากเงินได้ก่อนจ่ายให้แก่ผู้รับ และถือเป็น \”เครดิตภาษี\” ของผู้ถูกหัก สำหรับการคำนวณภาษีที่ต้องยื่นในแบบแสดงรายการภาษี โดยทางผู้จ่ายเงินจะมีหลักฐานที่เรียกว่า \”หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย\” ให้แก่ผู้รับไว้เป็นหลักฐาน
ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากเรามีภาษีที่ต้องเสียทั้งหมดในปี จำนวน 15,000 บาท แต่เรามีภาษีหัก ณ ที่่จ่ายที่ถูกหักไว้แล้วระหว่างจำนวน 10,000 บาท แปลว่าในปีนั้นเราจะต้องเสียภาษีเพิ่มเติมแค่เพียง 15,000 10,000 = 5,000 บาทเท่านั้นเอง (10,000 บาทที่ถูกหักไว้ นำไปเครดิตออกจากภาษีที่ต้องชำระตอนปลายปี)
หรือสรุปง่ายๆว่า หลักการของภาษีหัก ณ ทีจ่ายเป็นแบบนี้ครับ คือ
1. คนจ่ายหักภาษีไว้ เอาเงินไปส่งสรรพากร
2. คนมีรายได้ ได้ใบเอกสารหลักฐานการหักภาษี
3. ตอนยื่นภาษี คำนวณออกมาได้เท่าไร ให้เอาภาษีที่ถูกหักไว้ไปลบออก ส่วนต่างก็เสียเพิ่มหรือได้คืนแล้วแต่กรณีไป
อย่าลืมนะครับว่า รายได้ที่ถูกหักภาษีไว้นี่ ไม่ยื่นไม่ได้นะครับ เพราะถ้าไม่ยื่นก็แปลว่ามีสิทธิโดนตรวจสอบแน่นอนจ้า เพราะสรรพากรมีข้อมูลแล้วจากข้อ 1 แล้วก็ไม่ใช่การเสียภาษีด้วย มันเป็นการจ่ายล่วงหน้าเฉยๆ
ภาษี10นาที ภาษีเงินได้หักณทีจ่าย ภาษีหัก ภาษีหักณที่จ่าย ถูกหักภาษี จ่ายภาษีล่วงหน้า ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คำนวณภาษี
ซีรีย์ ภาษี10นาที ซีรีย์ที่สอนเรื่องภาษีโดยพรี่หนอม TAXBugnoms เพื่อให้ความรู้ภาษีเข้าใจง่ายขึ้น ทุกวันอังคารเวลา 2 ทุ่ม เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม 2562 เป็นต้นไป และจะทำจนกว่าขี้เกียจทำ 555
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

#ภาษี10นาที Ep.1 : ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร คิดแบบไหน ต้องทำอะไรบ้าง?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่BUSINESS & INVESTMENT tại đây

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *