Skip to content
Home » ยื่นแบบ ภ พ30 ไม่ตรงกับรายงานภาษีขายต้องทำอย่างไร | ภ งด 30 คือ

ยื่นแบบ ภ พ30 ไม่ตรงกับรายงานภาษีขายต้องทำอย่างไร | ภ งด 30 คือ

ยื่นแบบ ภ พ30 ไม่ตรงกับรายงานภาษีขายต้องทำอย่างไร


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

รายการอาจารย์มานพพบปัญหา 676 Yellowการบัญชี www.yellowaccounting.com โดย อ.มานพ สีเหลือง และ อ.เจี๊ยบ โทร 0970091656 หรือไลน์ Yellow_Accounting หรือ @Yellowtraining

ยื่นแบบ ภ พ30 ไม่ตรงกับรายงานภาษีขายต้องทำอย่างไร

ยื่นแบบภาษี VAT เองได้(#4) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.10


ยื่นแบบนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ.30 คำนวณมาจาก ภาษีขาย ภาษีซื้อ
ภาษีขาย มากกกว่า ภาษีซื้อ ต้องชำระค่าภาษี
ภาษีขาย น้อยกว่า ภาษีซื้อ มีสิทธิ์ขอคืนหรือนำไปชำระภาษีขายในเดือนถัดไป
ถ้ายังอยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม แม้ไม่มีรายการซื้อหรือขายก็ต้องยื่นแบบนำส่งภาษี แบบ ภ.พ.30
======================================================
ติดตามคลิปที่เกี่ยวข้องกับภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT
1. จด VAT น่ากลัวจริงหรือ?!? 1 บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.6
https://youtu.be/VWvPkJJfFzA
2. ใบกำกับภาษี แบบเต็มรูป VS. แบบย่อ ต่างกันอย่างไร?!? 2 บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.7
https://youtu.be/ywJZQxzat0Y
3. รายงานที่เกียวข้องกับ VAT ทำเองได้ 3 บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.8
https://youtu.be/JSp902jluSc

ยื่นแบบภาษี VAT เองได้(#4) บัญชี StartUp D.I.Y. Trips Ep.10

รู้จักและเข้าใจภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย แบบง่ายๆ ภายใน 10 นาที!!


คลิปสั้นๆ อธิบายเรื่องภาษีหัก ณ ที่จ่าย หลักการการหักภาษี ณ ที่จ่าย พร้อมตัวอย่างประกอบ โดย TAXBugnoms คนเดิม เพิ่มเติมด้วยสาระ 🙂
เข้าใจเงินได้ 8 ประเภท : http://goo.gl/k9YSdh
เอกสารประกอบอัตราภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
https://goo.gl/Pkp8L2
https://goo.gl/oNWe4d
อย่าลืมกด Subscribed Channel นี้ด้วยนะครับ!!
ติดตามกันได้ที่ : http://goo.gl/jwkQuV

รู้จักและเข้าใจภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย แบบง่ายๆ ภายใน 10 นาที!!

#ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) คืออะไร ยื่นเมื่อไร ประมาณการยังไง พร้อมตัวอย่างคำนวณภาษี


ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) คืออะไร ยื่นเมื่อไร ประมาณการขาดเกินยังไง พร้อมตัวอย่างคำนวณภาษีปี 2564 และวิธีนำส่งให้กับกรมสรรพากรครับผม
หลักการของภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีนั้น ต้องย้อนกลับไปเล่าก่อนว่า ภาษีครึ่งปีเป็นการจ่ายภาษีเงินได้ \”ล่วงหน้า\” โดยคำนวณจากกำไรที่เกิดขึ้นในช่วงครึ่งปีที่ผ่านมา
โดยภาษีครึ่งปีที่จ่ายไป สามารถนำไปใช้หักออกจากภาษีสิ้นปีที่คำนวณได้ เช่น บริษัทเราจ่ายภาษีครึ่งปีไปแล้ว 50,000 บาท พอสิ้นปีคำนวณภาษีได้ 80,000 บาท ก็จ่ายภาษีเพิ่มแค่ 30,000 บาทเท่านั้น (80,000 50,000)
นอกจากภาษีครึ่งปีแล้ว ยังสามารถนำภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่ถูกหักไว้มาใช้หักออกจากภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปีด้วยนะครับ
โดยผู้มีหน้าที่ยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี คือ บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนที่เข้าเงื่อนไขทั้ง 2 ข้อนี้
1. จัดตั้งและจดทะเบียนในประเทศไทย
2. ปีนี้มีรอบบัญชีครบ 12 เดือน และยังดำเนินกิจการอยู่
ซึ่งกฎหมายกำหนดให้ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล มีหน้าที่ยื่นภาษีครึ่งปีไว้ภายใน 2 เดือนหลังจากรอบครึ่งปีครับ ยกตัวอย่างเช่น
รอบบัญชี 1 ม.ค. – 31 ธ.ค. 2564 จะต้องยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีภายใน 31 ส.ค. 2564 (ถ้ายื่นผ่านอินเตอร์เน็ต +8 วัน ได้ถึงวันที่ 8 กันยายน 2564)
ส่วนชื่อแบบแสดงรายการที่ใช้ยื่นภาษี จะใช้แบบที่ชื่อว่า ภ.ง.ด. 51
วิธีการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี ตามหลักกฎหมายเขาจะกำหนดไว้ให้ธุรกิจทั่วไปที่ไม่ใช่บริษัทที่จดทะเบียน (ในตลาดหลักทรัพย์) ธนาคาร หรือหลักทรัพย์ต่างๆ คำนวณจากวิธีที่เรียกว่า ประมาณการกำไรสุทธิ ซึ่งวิธีคิดจะเป็นดังนี้
(ประมาณการกำไรสุทธิทั้งปี ขาดทุนสะสม หรือ กำไรที่ยกเว้น) หลังจากนั้นให้หาร 2 แล้วคูณด้วยอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลได้เลย
แต่ประเด็นปัญหาในการคำนวณวิธีนี้ คือ มันจะมีเรื่องของการประมาณการกำไรขาดเกิน ในกรณีที่ใช้วิธีประมาณการแล้วพบว่ากำไรที่ประมาณไว้ขาดเกินไปกว่า 25% ของกำไรจริงที่เกิดขึ้นตอนปลายปี จะมีภาระเรื่องเสียเงินเพิ่มในอัตรา 20% ของภาษีที่ชำระขาดไปด้วย
คลิปนี้จะสอนทุกอย่างที่ต้องรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปีให้ทราบกันครับ

#ภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี (ภ.ง.ด.51) คืออะไร ยื่นเมื่อไร ประมาณการยังไง พร้อมตัวอย่างคำนวณภาษี

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?


สรุป EFiling ระบบยื่นภาษีแบบใหม่ของสรรพากร มีอะไรที่ต้องรู้บ้าง ? พรี่หนอมสรุปให้ฟังครับ
ตั้งแต่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป กรมสรรพากรจะเปิดให้บริการใหม่ สำหรับการยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ต โดยมีการปรับปรุงใน 3 ด้านหลัก ๆ ดังนี้
เรื่องแรก การลงทะเบียนยื่นแบบ
1. ผู้ประกอบการสามารถยื่นแบบแยกสาขา หรือ รวมสาขาได้ สำหรับกรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิมและธุรกิจเฉพาะ
2. เพิ่มช่องทางของ Service Provider ให้สามารถช่วยยื่นแบบ หรือจัดเตรียมแบบแสดงรายการภาษีให้ได้
เรื่องที่สอง การยื่นแบบแสดงรายการ
1. ระบบช่วยคำนวณค่าความคลาดเคลื่อน ±20 ภาษีที่ชำระ(ขอคืน) สำหรับแบบ ภ.พ.30
2. สามารถยื่นแบบเกินกำหนดเวลาได้แล้ว
3. ระบบจะช่วยคำนวณเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับอาญาที่ประหยัดเงินผู้เสียภาษีมากที่สุดให้ได้
4. ยื่นภาษีผิดไป (ไม่มีชำระ) ยกเลิกแบบเองได้ ยื่นได้ทุกแบบ ทุก Browser และ Save แบบร่างเก็บไว้ได้ด้วยนะ
เรื่องที่สาม การชำระเงิน
สามารถออกใบเสร็จได้ทันทีที่ชำระ อยากชำระแบบไม่ปัดเศษก็ได้
โดยสิ่งทีต้องทำ คือ ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ เพื่อให้สามารถใช้ระบบใหม่ได้อย่างสมบูรณ์ สามารถเริ่มได้ตั้งแต่วันนี 31 ธันวาคม 2564 ครับ
อัพเดทล่าสุด : ตอนนี้กรมสรรพากรได้ปิดการใช้งานระบบยืนยันบัญชีผู้ใช้งานชั่วคราว สำหรับคนที่ยืนยันแล้ว สามารถใช้งานระบบใหม่ได้ทันทีในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 ดังนั้นในช่วงนี้ให้ยื่นภาษีโดยใช้ ชื่อผู้ใช้ (Username) และ รหัสผ่าน (Password) เดิมก่อน ส่วนผู้ที่ยังไม่ได้ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ ระบบจะเปิดให้ยืนยันอีกครั้งในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป
0:00 Intro
0:52 ระบบ efiling
1:22 การลงทะเบียนใหม่
3:02 การยื่นภาษีแบบใหม่
7:28 การชำระภาษีแบบใหม่
8:56 จะใช้ต้องทำยังไง?
10:07 สรุป

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆBUSINESS & INVESTMENT tại đây

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *