Skip to content
Home » คาบ ม.4 การเขียน 19/7/2564 #การเขียนจดหมายกิจเฉพาะ #จดหมายธุรกิจ | เรียนรู้การเขียนโปรแกรมออนไลน์ ที่เว็บไซต์

คาบ ม.4 การเขียน 19/7/2564 #การเขียนจดหมายกิจเฉพาะ #จดหมายธุรกิจ | เรียนรู้การเขียนโปรแกรมออนไลน์ ที่เว็บไซต์

คุณกำลังพยายามหาข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อการหาเงินออนไลน์หรือไม่? คุณกำลังมองหาหัวข้อที่เหมาะสม คาบ ม.4 การเขียน 19/7/2564 #การเขียนจดหมายกิจเฉพาะ #จดหมายธุรกิจ หรือไม่? ถ้าเป็นเช่นนั้นโปรดอ่านบทความนี้ทันที.

คาบ ม.4 การเขียน 19/7/2564 #การเขียนจดหมายกิจเฉพาะ #จดหมายธุรกิจ | จดหมาย เสนอ ขาย สินค้า.

[button color=”primary” size=”small” link=”#” icon=”” target=”false” nofollow=”true”]ดูวิดีโอโดยละเอียดด้านล่าง[/button]

รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ จดหมาย เสนอ ขาย สินค้า.

คาบ ม.4 การเขียน 19/7/2564 #การเขียนจดหมายกิจเฉพาะ #จดหมายธุรกิจ

คาบ ม.4 การเขียน 19/7/2564 #การเขียนจดหมายกิจเฉพาะ #จดหมายธุรกิจ

คุณสามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การเขียนโปรแกรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ง่ายที่สุด ที่นี่: ดูที่นี่.

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ จดหมาย เสนอ ขาย สินค้า.

การเขียนจดหมายธุรกิจเนื้อหาเรืองแสง นักเรียนทุกคนที่ไม่ได้เข้าร่วมและไม่เปิดกล้องขณะเรียน ตอบคำถามต่อไปนี้ในความคิดเห็น youtube เพื่อตรวจสอบย้อนหลัง: 1. อธิบายความหมายของจดหมาย 2. จดหมายธุรกิจมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันของคุณอย่างไร? 3. อธิบายส่วนสำคัญของการเขียนจดหมายธุรกิจ มันคืออะไรและจะเขียนอย่างไร?.

เรา หวังว่าข้อมูลในบทความนี้จะมีคุณค่ามากสำหรับคุณ. ขอแสดงความนับถือ.

การค้นหาที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อคาบ ม.4 การเขียน 19/7/2564 #การเขียนจดหมายกิจเฉพาะ #จดหมายธุรกิจ.

จดหมาย เสนอ ขาย สินค้า

การเขียนจดหมายกิจเฉพาะ,การเขียนจดหมายธุรกิจ

#คาบ #ม4 #การเขยน #การเขยนจดหมายกจเฉพาะ #จดหมายธรกจ

คาบ ม.4 การเขียน 19/7/2564 #การเขียนจดหมายกิจเฉพาะ #จดหมายธุรกิจ

4 thoughts on “คาบ ม.4 การเขียน 19/7/2564 #การเขียนจดหมายกิจเฉพาะ #จดหมายธุรกิจ | เรียนรู้การเขียนโปรแกรมออนไลน์ ที่เว็บไซต์”

  1. นาย บุษกล เอียดเจริญ
    1.คือข้อความที่เขียนขึ้นเพื่อส่งสารจากบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่ง อาจมีความหมายรวมไปถึงกระดาษหรือสื่อที่ใช้เขียนหรือสร้างจดหมายนั้น

    2. มีดังนี้
    1. ด้านการประหยัด เป็นการประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย เนื่องจากไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปติดต่อด้วยตนเอง
    2. ด้านความสะดวกและรวดเร็ว เป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ติดต่อ ในกรณีที่ผู้ที่ต้องการติดต่อธุรกิจด้วยมีงานมากหรืออยู่ไม่เป็นที่เป็นทาง จึงไม่สะดวก ที่จะโทรศัพท์ติดต่อหรือขอเข้าพบด้วยตนเอง
    3. ด้านการให้รายละเอียดข้อมูล เป็นการเอื้อต่อการสื่อข้อความ สามารถให้รายละเอียดข้อมูลได้มาก ชัดเจน และมีระบบ เพราะผู้เขียนมีเวลาเตรียมการเขียนก่อนลงมือเขียนอีกทั้งยังสามารถตรวจสอบข้อมูลอีกครั้งก่อนส่งไปยังผู้รับจดหมาย
    4. ด้านการใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิง ค้นเรื่อง และที่สำคัญที่สุดคือเป็นหลักฐานทางกฎหมาย เนื่องจากเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน
    5. ด้านการเป็นสื่อสัมพันธ์ที่ดีในการติดต่อธุรกิจ เป็นการส่งเสริมให้มีความสัมพันธ์ที่ดีและการติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง ในการติดต่อธุรกิจซื้อขาย บางครั้งลูกค้า อาจขาดการติดต่อไป บริษัทจำเป็นต้องมีจดหมายไปถึงลูกค้าเพื่อขอทราบสาเหตุที่แท้จริงพร้อมทั้งแสดงความพร้อมที่จะแก้ไขปัญหาหรือเสนอบริการพิเศษต่าง ๆเพื่อจูงใจให้ลูกค้ากลับมาติดต่อสั่งซื้อสินค้าหรือบริการจากบริษัทอีก

    3.มีดังนี้
    1. ที่อยู่ผู้ส่ง ชื่อและที่ตั้งของบริษัท ห้างร้าน นิยมใช้กระดาษพิมพ์หัวจดหมายสําเร็จรูป
    2. เลขที่จดหมาย โดยมากมักปรากฏในประเภทของจดหมายไทยแบบราชการ
    3. วัน เดือน ปี ให้ระบุวันเดือนปีที่เขียนจดหมาย
    4. ที่อยู่ผู้รับ ให้เขียนชื่อบริษัท ห้างร้าน พร้อมทั้งที่อยู่ของผู้รับ
    5. เรื่อง ให้ระบุเรื่องหรือสาระสําคัญสั้น ๆ ของจดหมายฉบับนั้น
    6. คําขึ้นต้น เป็นการทักทายเริ่มต้นจดหมาย จดหมายธุรกิจทั่วไปนิยมใช้ “เรียน”
    7.เนื้อหา จะแบ่งเนื้อหาออกเป็นตอน ๆ เพื่อให้เข้าใจง่าย อาจมีมากกว่าหนึ่งย่อหน้าก็ได้
    8.คำลงท้าย เป็นการอําลาผู้อ่าน โดยทั่วไปนิยมใช้คําว่า “ ขอแสดงความนับถือ
    9. ลายมือชื่อ เป็นการลงลายมือชื่อเจ้าของจดหมาย
    10. ชื่อเต็ม ให้ระบุชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ ได้แก่ ชื่อ นามสกุลและคํานําหน้าบอกสถานภาพ ตลอดจนตําแหน่ง
    11. ถึงที่ส่งมาด้วย เป็นส่วนที่ระบุชื่อสิ่งของหรือเอกสารที่ส่งไปพร้อมกับจดหมายฉบับนั้น
    12. อักษรย่อชื่อผู้ลงนามและผู้พิมพ์ เป็นส่วนที่ระบุอักษรย่อชื่อและนามสกุลของผู้ลงนามและผู้พิมพ์นิยมใช้กับจดหมายธุรกิจแบบต่างประเทศ
    วิธีการเขียนจดหมายธุรกิจ

    ขั้นตอนก่อนการเขียน

    1) พิจารณาดูว่าผู้รับเป็นใคร ตําแหน่งใด
    2) กําหนดคําขึ้นต้น คําลงท้ายให้เหมาะสมกับผู้รับจดหมาย
    ๓3 กําหนดรูปแบบของจดหมายเสียก่อนว่าควรใช้ลักษณะอย่างไร ควรมีเนื้อความที่ตอนเนื้อความแต่ละตอนควรกล่าวถึงอะไรบ้าง
    4) เตรียมการเขียนร่างข้อความลงในกระดาษก่อน

    ขั้นตอนลงมือเขียน

    1) เขียนตามรูปแบบที่เตรียมไว้ให้ครบถ้วนตามส่วนประกอบของจดหมาย
    2) ระบุวัตถุประสงค์ลงไปให้ชัดเจนแน่นอน เช่น ขอสั่งซื้อสินค้า ขอชี้แจงหรือแจ้งข่าว
    3) เลือกสรรถ้อยคําให้ตรงตามความหมายที่ต้องการ สะกดคําได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ใช้ถ้อยคํา
    สํานวนให้เหมาะสมแก่สถานภาพของผู้รับจดหมาย
    4) เขียนสื่อสารกันให้ตรงประเด็นและได้สาระครบถ้วนความถูกต้องตามต้องการ
    5) ใช้ข้อความปิดท้ายที่เหมาะสม ก่อให้เกิดความรู้สึกประทับใจ
    6) ลงลายมือชื่อทุกครั้งที่จบจดหมาย พร้อมทั้งบอกตําแหน่งด้วย

    ขั้นตอนหลังการเขียน

    1) ควรตรวจทานจดหมายที่เขียนเสร็จแล้วนั้นซ้ําอีกครั้งหนึ่งว่าไม่มีข้อบกพร่องใด ๆ แล้ว
    2) พิมพ์ข้อความจดหมายตามที่ร่างไว้ โดยคํานึงถึงความสะอาดเรียบร้อยและไม่ผิดพลาด
    3) เลือกใช้ซองสีสุภาพหรือใช้ซองแบบหน้าต่างซึ่งดูสวยงามและประหยัดเวลาในการเขียนจ่าหน้าซองด้วย

  2. นาย ปรเมษฐ์​ อิน​ท​ร​สมบัติ
    1.คือข้อความที่เขียนขึ้นเพื่อส่งสารจากบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่ง อาจมีความหมายรวมไปถึงกระดาษหรือสื่อที่ใช้เขียนหรือสร้างจดหมายนั้น

    2. มีดังนี้
    1. ด้านการประหยัด เป็นการประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย เนื่องจากไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปติดต่อด้วยตนเอง
    2. ด้านความสะดวกและรวดเร็ว เป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ติดต่อ ในกรณีที่ผู้ที่ต้องการติดต่อธุรกิจด้วยมีงานมากหรืออยู่ไม่เป็นที่เป็นทาง จึงไม่สะดวก ที่จะโทรศัพท์ติดต่อหรือขอเข้าพบด้วยตนเอง
    3. ด้านการให้รายละเอียดข้อมูล เป็นการเอื้อต่อการสื่อข้อความ สามารถให้รายละเอียดข้อมูลได้มาก ชัดเจน และมีระบบ เพราะผู้เขียนมีเวลาเตรียมการเขียนก่อนลงมือเขียนอีกทั้งยังสามารถตรวจสอบข้อมูลอีกครั้งก่อนส่งไปยังผู้รับจดหมาย
    4. ด้านการใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิง ค้นเรื่อง และที่สำคัญที่สุดคือเป็นหลักฐานทางกฎหมาย เนื่องจากเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน
    5. ด้านการเป็นสื่อสัมพันธ์ที่ดีในการติดต่อธุรกิจ เป็นการส่งเสริมให้มีความสัมพันธ์ที่ดีและการติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง ในการติดต่อธุรกิจซื้อขาย บางครั้งลูกค้า อาจขาดการติดต่อไป บริษัทจำเป็นต้องมีจดหมายไปถึงลูกค้าเพื่อขอทราบสาเหตุที่แท้จริงพร้อมทั้งแสดงความพร้อมที่จะแก้ไขปัญหาหรือเสนอบริการพิเศษต่าง ๆเพื่อจูงใจให้ลูกค้ากลับมาติดต่อสั่งซื้อสินค้าหรือบริการจากบริษัทอีก

    3.มีดังนี้
    1. ที่อยู่ผู้ส่ง ชื่อและที่ตั้งของบริษัท ห้างร้าน นิยมใช้กระดาษพิมพ์หัวจดหมายสําเร็จรูป
    2. เลขที่จดหมาย โดยมากมักปรากฏในประเภทของจดหมายไทยแบบราชการ
    3. วัน เดือน ปี ให้ระบุวันเดือนปีที่เขียนจดหมาย
    4. ที่อยู่ผู้รับ ให้เขียนชื่อบริษัท ห้างร้าน พร้อมทั้งที่อยู่ของผู้รับ
    5. เรื่อง ให้ระบุเรื่องหรือสาระสําคัญสั้น ๆ ของจดหมายฉบับนั้น
    6. คําขึ้นต้น เป็นการทักทายเริ่มต้นจดหมาย จดหมายธุรกิจทั่วไปนิยมใช้ “เรียน”
    7.เนื้อหา จะแบ่งเนื้อหาออกเป็นตอน ๆ เพื่อให้เข้าใจง่าย อาจมีมากกว่าหนึ่งย่อหน้าก็ได้
    8.คำลงท้าย เป็นการอําลาผู้อ่าน โดยทั่วไปนิยมใช้คําว่า “ ขอแสดงความนับถือ
    9. ลายมือชื่อ เป็นการลงลายมือชื่อเจ้าของจดหมาย
    10. ชื่อเต็ม ให้ระบุชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ ได้แก่ ชื่อ นามสกุลและคํานําหน้าบอกสถานภาพ ตลอดจนตําแหน่ง
    11. ถึงที่ส่งมาด้วย เป็นส่วนที่ระบุชื่อสิ่งของหรือเอกสารที่ส่งไปพร้อมกับจดหมายฉบับนั้น
    12. อักษรย่อชื่อผู้ลงนามและผู้พิมพ์ เป็นส่วนที่ระบุอักษรย่อชื่อและนามสกุลของผู้ลงนามและผู้พิมพ์นิยมใช้กับจดหมายธุรกิจแบบต่างประเทศ
    วิธีการเขียนจดหมายธุรกิจ

    ขั้นตอนก่อนการเขียน

    1) พิจารณาดูว่าผู้รับเป็นใคร ตําแหน่งใด
    2) กําหนดคําขึ้นต้น คําลงท้ายให้เหมาะสมกับผู้รับจดหมาย
    ๓3 กําหนดรูปแบบของจดหมายเสียก่อนว่าควรใช้ลักษณะอย่างไร ควรมีเนื้อความที่ตอนเนื้อความแต่ละตอนควรกล่าวถึงอะไรบ้าง
    4) เตรียมการเขียนร่างข้อความลงในกระดาษก่อน

    ขั้นตอนลงมือเขียน

    1) เขียนตามรูปแบบที่เตรียมไว้ให้ครบถ้วนตามส่วนประกอบของจดหมาย
    2) ระบุวัตถุประสงค์ลงไปให้ชัดเจนแน่นอน เช่น ขอสั่งซื้อสินค้า ขอชี้แจงหรือแจ้งข่าว
    3) เลือกสรรถ้อยคําให้ตรงตามความหมายที่ต้องการ สะกดคําได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ใช้ถ้อยคํา
    สํานวนให้เหมาะสมแก่สถานภาพของผู้รับจดหมาย
    4) เขียนสื่อสารกันให้ตรงประเด็นและได้สาระครบถ้วนความถูกต้องตามต้องการ
    5) ใช้ข้อความปิดท้ายที่เหมาะสม ก่อให้เกิดความรู้สึกประทับใจ
    6) ลงลายมือชื่อทุกครั้งที่จบจดหมาย พร้อมทั้งบอกตําแหน่งด้วย

    ขั้นตอนหลังการเขียน

    1) ควรตรวจทานจดหมายที่เขียนเสร็จแล้วนั้นซ้ําอีกครั้งหนึ่งว่าไม่มีข้อบกพร่องใด ๆ แล้ว
    2) พิมพ์ข้อความจดหมายตามที่ร่างไว้ โดยคํานึงถึงความสะอาดเรียบร้อยและไม่ผิดพลาด
    3) เลือกใช้ซองสีสุภาพหรือใช้ซองแบบหน้าต่างซึ่งดูสวยงามและประหยัดเวลาในการเขียนจ่าหน้าซองด้วย

  3. นายสุชาครีย์ สวัสดิพันธ์
    1.คือข้อความที่เขียนขึ้นเพื่อส่งสารจากบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่ง อาจมีความหมายรวมไปถึงกระดาษหรือสื่อที่ใช้เขียนหรือสร้างจดหมายนั้น

    2. มีดังนี้
    1. ด้านการประหยัด เป็นการประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย เนื่องจากไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปติดต่อด้วยตนเอง
    2. ด้านความสะดวกและรวดเร็ว เป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ติดต่อ ในกรณีที่ผู้ที่ต้องการติดต่อธุรกิจด้วยมีงานมากหรืออยู่ไม่เป็นที่เป็นทาง จึงไม่สะดวก ที่จะโทรศัพท์ติดต่อหรือขอเข้าพบด้วยตนเอง
    3. ด้านการให้รายละเอียดข้อมูล เป็นการเอื้อต่อการสื่อข้อความ สามารถให้รายละเอียดข้อมูลได้มาก ชัดเจน และมีระบบ เพราะผู้เขียนมีเวลาเตรียมการเขียนก่อนลงมือเขียนอีกทั้งยังสามารถตรวจสอบข้อมูลอีกครั้งก่อนส่งไปยังผู้รับจดหมาย
    4. ด้านการใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิง ค้นเรื่อง และที่สำคัญที่สุดคือเป็นหลักฐานทางกฎหมาย เนื่องจากเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน
    5. ด้านการเป็นสื่อสัมพันธ์ที่ดีในการติดต่อธุรกิจ เป็นการส่งเสริมให้มีความสัมพันธ์ที่ดีและการติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง ในการติดต่อธุรกิจซื้อขาย บางครั้งลูกค้า อาจขาดการติดต่อไป บริษัทจำเป็นต้องมีจดหมายไปถึงลูกค้าเพื่อขอทราบสาเหตุที่แท้จริงพร้อมทั้งแสดงความพร้อมที่จะแก้ไขปัญหาหรือเสนอบริการพิเศษต่าง ๆเพื่อจูงใจให้ลูกค้ากลับมาติดต่อสั่งซื้อสินค้าหรือบริการจากบริษัทอีก

    3.มีดังนี้
    1. ที่อยู่ผู้ส่ง ชื่อและที่ตั้งของบริษัท ห้างร้าน นิยมใช้กระดาษพิมพ์หัวจดหมายสําเร็จรูป
    2. เลขที่จดหมาย โดยมากมักปรากฏในประเภทของจดหมายไทยแบบราชการ
    3. วัน เดือน ปี ให้ระบุวันเดือนปีที่เขียนจดหมาย
    4. ที่อยู่ผู้รับ ให้เขียนชื่อบริษัท ห้างร้าน พร้อมทั้งที่อยู่ของผู้รับ
    5. เรื่อง ให้ระบุเรื่องหรือสาระสําคัญสั้น ๆ ของจดหมายฉบับนั้น
    6. คําขึ้นต้น เป็นการทักทายเริ่มต้นจดหมาย จดหมายธุรกิจทั่วไปนิยมใช้ “เรียน”
    7.เนื้อหา จะแบ่งเนื้อหาออกเป็นตอน ๆ เพื่อให้เข้าใจง่าย อาจมีมากกว่าหนึ่งย่อหน้าก็ได้
    8.คำลงท้าย เป็นการอําลาผู้อ่าน โดยทั่วไปนิยมใช้คําว่า “ ขอแสดงความนับถือ
    9. ลายมือชื่อ เป็นการลงลายมือชื่อเจ้าของจดหมาย
    10. ชื่อเต็ม ให้ระบุชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ ได้แก่ ชื่อ นามสกุลและคํานําหน้าบอกสถานภาพ ตลอดจนตําแหน่ง
    11. ถึงที่ส่งมาด้วย เป็นส่วนที่ระบุชื่อสิ่งของหรือเอกสารที่ส่งไปพร้อมกับจดหมายฉบับนั้น
    12. อักษรย่อชื่อผู้ลงนามและผู้พิมพ์ เป็นส่วนที่ระบุอักษรย่อชื่อและนามสกุลของผู้ลงนามและผู้พิมพ์นิยมใช้กับจดหมายธุรกิจแบบต่างประเทศ
    วิธีการเขียนจดหมายธุรกิจ

    ขั้นตอนก่อนการเขียน

    1) พิจารณาดูว่าผู้รับเป็นใคร ตําแหน่งใด
    2) กําหนดคําขึ้นต้น คําลงท้ายให้เหมาะสมกับผู้รับจดหมาย
    ๓3 กําหนดรูปแบบของจดหมายเสียก่อนว่าควรใช้ลักษณะอย่างไร ควรมีเนื้อความที่ตอนเนื้อความแต่ละตอนควรกล่าวถึงอะไรบ้าง
    4) เตรียมการเขียนร่างข้อความลงในกระดาษก่อน

    ขั้นตอนลงมือเขียน

    1) เขียนตามรูปแบบที่เตรียมไว้ให้ครบถ้วนตามส่วนประกอบของจดหมาย
    2) ระบุวัตถุประสงค์ลงไปให้ชัดเจนแน่นอน เช่น ขอสั่งซื้อสินค้า ขอชี้แจงหรือแจ้งข่าว
    3) เลือกสรรถ้อยคําให้ตรงตามความหมายที่ต้องการ สะกดคําได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ใช้ถ้อยคํา
    สํานวนให้เหมาะสมแก่สถานภาพของผู้รับจดหมาย
    4) เขียนสื่อสารกันให้ตรงประเด็นและได้สาระครบถ้วนความถูกต้องตามต้องการ
    5) ใช้ข้อความปิดท้ายที่เหมาะสม ก่อให้เกิดความรู้สึกประทับใจ
    6) ลงลายมือชื่อทุกครั้งที่จบจดหมาย พร้อมทั้งบอกตําแหน่งด้วย

    ขั้นตอนหลังการเขียน

    1) ควรตรวจทานจดหมายที่เขียนเสร็จแล้วนั้นซ้ําอีกครั้งหนึ่งว่าไม่มีข้อบกพร่องใด ๆ แล้ว
    2) พิมพ์ข้อความจดหมายตามที่ร่างไว้ โดยคํานึงถึงความสะอาดเรียบร้อยและไม่ผิดพลาด
    3) เลือกใช้ซองสีสุภาพหรือใช้ซองแบบหน้าต่างซึ่งดูสวยงามและประหยัดเวลาในการเขียนจ่าหน้าซองด้วย

  4. นางสาว พลอยพิไล คงคานนท์
    1.จดหมาย คือข้อความที่เขียนขึ้นเพื่อส่งสารจากบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่ง อาจมีความหมายรวมไปถึงกระดาษหรือสื่อที่ใช้เขียนหรือสร้างจดหมายนั้น

    2.ความสะดวกและรวดเร็ว เป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ติดต่อ ในกรณีที่ผู้ที่ต้องการติดต่อธุรกิจด้วยมีงานมากหรืออยู่ไม่เป็นที่เป็นทาง จึงไม่สะดวก ที่จะโทรศัพท์ติดต่อหรือขอเข้าพบด้วยตนเอง

    3.๑. ที่อยู่ผู้ส่ง ชื่อและที่ตั้งของบริษัท ห้างร้าน นิยมใช้กระดาษพิมพ์หัวจดหมายสําเร็จรูป

    ๒. เลขที่จดหมาย โดยมากมักปรากฏในประเภทของจดหมายไทยแบบราชการ

    ๓. วัน เดือน ปี ให้ระบุวันเดือนปีที่เขียนจดหมาย

    ๔. ที่อยู่ผู้รับ ให้เขียนชื่อบริษัท ห้างร้าน พร้อมทั้งที่อยู่ของผู้รับ

    ๕. เรื่อง ให้ระบุเรื่องหรือสาระสําคัญสั้น ๆ ของจดหมายฉบับนั้น

    ๖. คําขึ้นต้น เป็นการทักทายเริ่มต้นจดหมาย จดหมายธุรกิจทั่วไปนิยมใช้ “เรียน”

    ๗.เนื้อหา จะแบ่งเนื้อหาออกเป็นตอน ๆ เพื่อให้เข้าใจง่าย อาจมีมากกว่าหนึ่งย่อหน้าก็ได้

    ๘.คำลงท้าย เป็นการอําลาผู้อ่าน โดยทั่วไปนิยมใช้คําว่า “ ขอแสดงความนับถือ

    ๙. ลายมือชื่อ เป็นการลงลายมือชื่อเจ้าของจดหมาย

    ๑๐. ชื่อเต็ม ให้ระบุชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ ได้แก่ ชื่อ นามสกุลและคํานําหน้าบอกสถานภาพ ตลอดจนตําแหน่ง

    ๑๑. ถึงที่ส่งมาด้วย เป็นส่วนที่ระบุชื่อสิ่งของหรือเอกสารที่ส่งไปพร้อมกับจดหมายฉบับนั้น

    ๑๒. อักษรย่อชื่อผู้ลงนามและผู้พิมพ์ เป็นส่วนที่ระบุอักษรย่อชื่อและนามสกุลของผู้ลงนามและผู้พิมพ์นิยมใช้กับจดหมายธุรกิจแบบต่างประเทศ
    ขั้นตอนการเขียน
    ๑. ขั้นตอนก่อนการเขียน

    ๑) พิจารณาดูว่าผู้รับเป็นใคร ตําแหน่งใด

    ๒) กําหนดคําขึ้นต้น คําลงท้ายให้เหมาะสมกับผู้รับจดหมาย

    ๓) กําหนดรูปแบบของจดหมายเสียก่อนว่าควรใช้ลักษณะอย่างไร ควรมีเนื้อความที่ตอนเนื้อความแต่ละตอนควรกล่าวถึงอะไรบ้าง

    ๔) เตรียมการเขียนร่างข้อความลงในกระดาษก่อน

    ๒. ขั้นตอนลงมือเขียน

    ๑) เขียนตามรูปแบบที่เตรียมไว้ให้ครบถ้วนตามส่วนประกอบของจดหมาย

    ๒) ระบุวัตถุประสงค์ลงไปให้ชัดเจนแน่นอน เช่น ขอสั่งซื้อสินค้า ขอชี้แจงหรือแจ้งข่าว

    ๓) เลือกสรรถ้อยคําให้ตรงตามความหมายที่ต้องการ สะกดคําได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ใช้ถ้อยคํา

    สํานวนให้เหมาะสมแก่สถานภาพของผู้รับจดหมาย

    ๔) เขียนสื่อสารกันให้ตรงประเด็นและได้สาระครบถ้วนความถูกต้องตามต้องการ

    ๕) ใช้ข้อความปิดท้ายที่เหมาะสม ก่อให้เกิดความรู้สึกประทับใจ

    ๖) ลงลายมือชื่อทุกครั้งที่จบจดหมาย พร้อมทั้งบอกตําแหน่งด้วย

    ๓. ขั้นตอนหลังการเขียน

    ๑) ควรตรวจทานจดหมายที่เขียนเสร็จแล้วนั้นซ้ําอีกครั้งหนึ่งว่าไม่มีข้อบกพร่องใด ๆ แล้ว

    ๒) พิมพ์ข้อความจดหมายตามที่ร่างไว้ โดยคํานึงถึงความสะอาดเรียบร้อยและไม่ผิดพลาด

    ๓) เลือกใช้ซองสีสุภาพหรือใช้ซองแบบหน้าต่างซึ่งดูสวยงามและประหยัดเวลาในการเขียนจ่าหน้าซองด้วย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *