Skip to content
Home » อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ? | ภาษีมูลค่าเพิ่ม หมาย ถึง อะไร

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ? | ภาษีมูลค่าเพิ่ม หมาย ถึง อะไร

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สรุป EFiling ระบบยื่นภาษีแบบใหม่ของสรรพากร มีอะไรที่ต้องรู้บ้าง ? พรี่หนอมสรุปให้ฟังครับ
ตั้งแต่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป กรมสรรพากรจะเปิดให้บริการใหม่ สำหรับการยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ต โดยมีการปรับปรุงใน 3 ด้านหลัก ๆ ดังนี้
เรื่องแรก การลงทะเบียนยื่นแบบ
1. ผู้ประกอบการสามารถยื่นแบบแยกสาขา หรือ รวมสาขาได้ สำหรับกรณียื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิมและธุรกิจเฉพาะ
2. เพิ่มช่องทางของ Service Provider ให้สามารถช่วยยื่นแบบ หรือจัดเตรียมแบบแสดงรายการภาษีให้ได้
เรื่องที่สอง การยื่นแบบแสดงรายการ
1. ระบบช่วยคำนวณค่าความคลาดเคลื่อน ±20 ภาษีที่ชำระ(ขอคืน) สำหรับแบบ ภ.พ.30
2. สามารถยื่นแบบเกินกำหนดเวลาได้แล้ว
3. ระบบจะช่วยคำนวณเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับอาญาที่ประหยัดเงินผู้เสียภาษีมากที่สุดให้ได้
4. ยื่นภาษีผิดไป (ไม่มีชำระ) ยกเลิกแบบเองได้ ยื่นได้ทุกแบบ ทุก Browser และ Save แบบร่างเก็บไว้ได้ด้วยนะ
เรื่องที่สาม การชำระเงิน
สามารถออกใบเสร็จได้ทันทีที่ชำระ อยากชำระแบบไม่ปัดเศษก็ได้
โดยสิ่งทีต้องทำ คือ ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ เพื่อให้สามารถใช้ระบบใหม่ได้อย่างสมบูรณ์ สามารถเริ่มได้ตั้งแต่วันนี 31 ธันวาคม 2564 ครับ
อัพเดทล่าสุด : ตอนนี้กรมสรรพากรได้ปิดการใช้งานระบบยืนยันบัญชีผู้ใช้งานชั่วคราว สำหรับคนที่ยืนยันแล้ว สามารถใช้งานระบบใหม่ได้ทันทีในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 ดังนั้นในช่วงนี้ให้ยื่นภาษีโดยใช้ ชื่อผู้ใช้ (Username) และ รหัสผ่าน (Password) เดิมก่อน ส่วนผู้ที่ยังไม่ได้ยืนยันผู้ใช้งานใหม่ ระบบจะเปิดให้ยืนยันอีกครั้งในวันที่ 6 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป
0:00 Intro
0:52 ระบบ efiling
1:22 การลงทะเบียนใหม่
3:02 การยื่นภาษีแบบใหม่
7:28 การชำระภาษีแบบใหม่
8:56 จะใช้ต้องทำยังไง?
10:07 สรุป

อัพเดท! ระบบยื่นภาษี e-Filing แบบใหม่ของกรมสรรพากร เริ่มใช้ปี 2564 มีอะไรที่เราต้องรู้บ้าง ?

มารู้จักกับ \”ภาษีมูลค่าเพิ่ม\” คืออะไร ใครต้องจ่าย ? | สนามนักสู้ EP.13


\”ภาษีมูลค่าเพิ่ม\” (Value Added Tax หรือ VAT) ส่วนสำคัญในการทำธุรกิจ หากวางแผนผิดก็พลิกกำไรเช่นกัน วันนี้เรามารู้กันดีกว่าว่า \”ภาษีมูลค่าเพิ่ม\” คืออะไร? ทำไมต้องจ่าย? จ่ายตอนไหน? จ่ายแล้วไปไหน? ลูกค้าหรือเราต้องจ่าย? ถ้าไม่จ่ายโดนอะไรไหม? มารับชมไปพร้อมกันเล้ยยยย
สนับสนุนโดย : Borihan.com โปรแกรมบริหารธุรกิจพิชิตกำไร SME จะก้าวหน้าต้องกล้าเปลี่ยน
สอบถามข้อมูลและทดลองใช้ฟรี :
https://www.borihan.com/
Line : @borihancs (https://lin.ee/zfDCL0A)
______________________________________________________________________
ติดตามความเคลื่อนไหวได้ที่
YouTube : KIT MUSIC (https://www.youtube.com/channel/UC_8
Facebook : KIT MUSIC (https://www.facebook.com/kitmusic2020/)
_______________________________________________________________________
ติดต่องาน : 0816252587 คุณด็อง

มารู้จักกับ \

คนไม่ฉลาดเท่านั้นที่จด VAT และคนรวยเค้าก็หนีภาษีกันหมด จริงป่ะ?


คุณเคยได้ยินคนอาบน้ำร้อนมาก่อนพูดใส่คุณแบบนี้มั้ย?
คุณคิดว่ามันจริงมั้ย?
แล้วจะจดไปทำไม?
ผมว่าคำถามนี้มันมีคำตอบในตัวมัน
และวิดีโอพยายามสรุปแบบภาษาชาวบ้าน
ไม่ใช่นักการบัญชี
ไม่ใช่สรรพากร
ตามที่ผมเข้าใจ พร้อมแนวคิดง่ายๆ
ก่อนจะกระแดะเข้า VAT โดยยังไม่จำเป็น
ลองถามตัวเองดูก่อนครับ
เพราะไม่มีใครตอบคำถามนี้ได้ดีกว่า
ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการเอง
ถ้ายังคิดไม่ออกจริงๆ
ปิดบริษัททำอย่างอื่นเถอะครับ เชื่อผม
พูดแรงแต่จริงใจครับ
CEOน้อย100M
เมตรแรกก็พร้อมแล้ว
ถ้ามันดีพอรบกวนแชร์ไปให้ถึงดาวนาเม็ก

คนไม่ฉลาดเท่านั้นที่จด VAT และคนรวยเค้าก็หนีภาษีกันหมด จริงป่ะ?

ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร


ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร

#ภาษี10นาที Ep.1 : ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร คิดแบบไหน ต้องทำอะไรบ้าง?


ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ถ้าว่ากันแบบง่ายๆ คือ จำนวนเงินที่กฎหมายกำหนดให้ผู้จ่ายเงินหักออกจากเงินได้ก่อนจ่ายให้แก่ผู้รับ และถือเป็น \”เครดิตภาษี\” ของผู้ถูกหัก สำหรับการคำนวณภาษีที่ต้องยื่นในแบบแสดงรายการภาษี โดยทางผู้จ่ายเงินจะมีหลักฐานที่เรียกว่า \”หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย\” ให้แก่ผู้รับไว้เป็นหลักฐาน
ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากเรามีภาษีที่ต้องเสียทั้งหมดในปี จำนวน 15,000 บาท แต่เรามีภาษีหัก ณ ที่่จ่ายที่ถูกหักไว้แล้วระหว่างจำนวน 10,000 บาท แปลว่าในปีนั้นเราจะต้องเสียภาษีเพิ่มเติมแค่เพียง 15,000 10,000 = 5,000 บาทเท่านั้นเอง (10,000 บาทที่ถูกหักไว้ นำไปเครดิตออกจากภาษีที่ต้องชำระตอนปลายปี)
หรือสรุปง่ายๆว่า หลักการของภาษีหัก ณ ทีจ่ายเป็นแบบนี้ครับ คือ
1. คนจ่ายหักภาษีไว้ เอาเงินไปส่งสรรพากร
2. คนมีรายได้ ได้ใบเอกสารหลักฐานการหักภาษี
3. ตอนยื่นภาษี คำนวณออกมาได้เท่าไร ให้เอาภาษีที่ถูกหักไว้ไปลบออก ส่วนต่างก็เสียเพิ่มหรือได้คืนแล้วแต่กรณีไป
อย่าลืมนะครับว่า รายได้ที่ถูกหักภาษีไว้นี่ ไม่ยื่นไม่ได้นะครับ เพราะถ้าไม่ยื่นก็แปลว่ามีสิทธิโดนตรวจสอบแน่นอนจ้า เพราะสรรพากรมีข้อมูลแล้วจากข้อ 1 แล้วก็ไม่ใช่การเสียภาษีด้วย มันเป็นการจ่ายล่วงหน้าเฉยๆ
ภาษี10นาที ภาษีเงินได้หักณทีจ่าย ภาษีหัก ภาษีหักณที่จ่าย ถูกหักภาษี จ่ายภาษีล่วงหน้า ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คำนวณภาษี
ซีรีย์ ภาษี10นาที ซีรีย์ที่สอนเรื่องภาษีโดยพรี่หนอม TAXBugnoms เพื่อให้ความรู้ภาษีเข้าใจง่ายขึ้น ทุกวันอังคารเวลา 2 ทุ่ม เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม 2562 เป็นต้นไป และจะทำจนกว่าขี้เกียจทำ 555
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

#ภาษี10นาที Ep.1 : ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร คิดแบบไหน ต้องทำอะไรบ้าง?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆBUSINESS & INVESTMENT tại đây

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *